Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79233
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปฐมาวดี จงรักษ์-
dc.contributor.authorณัฐพร อินทะกันฑ์en_US
dc.date.accessioned2023-12-02T04:16:34Z-
dc.date.available2023-12-02T04:16:34Z-
dc.date.issued2566-08-30-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79233-
dc.description.abstractThe objective of “Collaboration of the government agencies' in managing and resolving the crisis of the 2019 Coronavirus Disease (COVID-19) pandemic in prison of Central Prison Chiangmai ” was to study1) the process of collaborative work among government agencies in managing and resolving the crisis of the COVID-19 pandemic in prison of Central Prison Chiangmai, and 2) the challenges and development strategies for implementing collaborative work in managing and resolving the crisis of the COVID-19 pandemic in prison of Central Prison Chiangmai. This is a qualitative research study that collected data from documents, various measures, relevant directives, and in-depth interviews with a main group of informants who are directly involved or associated with the activities or operations. The data was analyzed using the concept of Collaborative Governance by Ansell & Gash (2007). The study's findings revealed two significant points. First, the collaborated efforts of government agencies in managing and resolving the COVID-19 crisis within the Central Prison Chiangmai were highly successful, meeting their set objectives. Their primary focus was on controlling the virus's spread and preventing it from reaching the broader community, all within a specified timeframe. This required close coordination with relevant agencies and achieving healthcare goals, particularly in minimizing mortality. Remarkably, in the Central Prison Chiang Mai, the COVID-19-related mortality rate was just 0.05%, with only two out of 6,000-7,000 inmates succumbing to the virus, surpassing national standards. Second, the study highlighted the challenges faced and the development directions necessary for collaborated operations in handling the COVID-19 crisis within the prison. These challenges encompassed security regulations, societal perceptions of the organization's disease management capabilities, and, notably, shortages in medical personnel.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการบูรณาการen_US
dc.subjectเชื้อไวรัสโคโรนาen_US
dc.subjectCOVID-19en_US
dc.subjectเรือนจำกลางจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.subjectCoronavirus Diseaseen_US
dc.titleการบูรณาการทำงานของหน่วยงานภาครัฐด้านการจัดการแก้ไขวิกฤตปัญหาสถานการณ์การแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของเรือนจำกลางจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeCollaboration of the government agencies' in managing and resolving the crisis of the 2019 Coronavirus disease (COVID-19) pandemic of the Chiangmai Central Prisonen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashเรือนจำกลางเชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการระบาดใหญ่ของโควิด-19, ค.ศ. 2020--
thailis.controlvocab.thashโรคระบาด -- การป้องกัน-
thailis.controlvocab.thashการบริหารรัฐกิจ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ได้แก่ 1) ศึกษากระบวนการบูรณาการการทำงานของหน่วยงานภาครัฐในการจัดการแก้ไขวิกฤตปัญหาสถานการณ์การแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของเรือนจำกลางจังหวัดเชียงใหม่และ 2) ศึกษาความท้าทายและแนวทางการพัฒนาของการดำเนินงานแบบบูรณาการการทำงานร่วมกันในการจัดการแก้ไขวิกฤตปัญหาสถานการณ์การแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของเรือนจำกลางจังหวัดเชียงใหม่ โดยเป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งดำเนินการเก็บข้อมูลจากเอกสาร มาตรการแต่ละช่วงและหนังสือสั่งการทางราชการที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการสัมภาษณ์เชิงลึกจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักซึ่งเป็นบุคคลที่เกี่ยวข้องต่อกิจกรรมหรือการดำเนินงานโดยตรง และนำข้อมูลมาเพื่อวิเคราะห์ โดยใช้แนวคิดการบริหารราชการแบบบูรณาการ (Collaborative Governance) ของAnsell & Gash (2007) มาประยุกต์ใช้ในการศึกษา ผลการศึกษาพบว่า 1) ผลลัพธ์ของการดำเนินงานภายหลังจากที่มีการบูรณาการทำงานของหน่วยงานภาครัฐในการจัดการแก้ไขวิกฤตปัญหาสถานการณ์การแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่เกิดขึ้นในเรือนจำกลางจังหวัดเชียงใหม่ การดำเนินงานทั้งหมดบรรลุเป้าหมายตามกรอบภารกิจที่กำหนดได้สำเร็จ โดยวัตถุประสงค์ของเป้าหมายว่าด้วยเรื่องของด้านการควบคุมการแพร่ระบาดและป้องกันโรคไม่ให้เล็ดรอดสู่สังคมภายนอกภายในระยะเวลาที่กำหนด ซึ่งกำหนดให้การดำเนินงานต้องเป็นไปตามมาตรการควบคุมโรคร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และการบรรลุเป้าหมายด้านการรักษาพยาบาล กล่าวคือ การป้องกันอัตราการเสียชีวิตน้อยที่สุด โดยเรือนจำกลางจังหวัดเชียงใหม่มีจำนวนตัวเลขอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยติดเชื้อด้วยโรคไวรัสทั้งหมด จำนวน 2 ราย คิดเป็น 0.05% ของผู้ต้องขังทั้งหมด 6-7 พันคน ซึ่งถือว่าน้อยกว่าค่ากำหนดของประเทศ และ2) ความท้าทายและแนวทางการพัฒนาของการดำเนินงานแบบบูรณาการการทำงานในการจัดการแก้ไขปัญหาสถานการณ์การแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในเรือนจำร่วมกัน ประกอบด้วยข้อระเบียบของหน่วยงานราชทัณฑ์ว่าด้วยเรื่องด้านความปลอดภัย ในลำดับต่อมา คือ ทัศนคติของสังคมภายนอกต่อศักยภาพขององค์กรในการจัดการโรคอุบัติใหม่ และประการสุดท้ายการขาดแคลนบุคลการทางการแพทย์ เป็นต้นen_US
Appears in Collections:POL: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.