Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79207
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยกานต์ เลียวหิรัญ-
dc.contributor.authorวิภาวี เจียมใจen_US
dc.date.accessioned2023-11-17T10:18:03Z-
dc.date.available2023-11-17T10:18:03Z-
dc.date.issued2023-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79207-
dc.description.abstractThe effect of graphene decoration with flame-spray-made Zn2SnO4 nanoparticles-based sensors on selective gas-sensing performances toward formic acid (HCOOH) has been studied for the first time. These effective sensing material-based VOAs gas sensors were prepared by the composition between spinel Zn2SnO4 nanoparticle achieved by flame spray pyrolysis and graphene loaded with 0.2–5 wt% produced by the electrolytic exfoliation process. Structural, physical, and chemical properties were investigated using X-ray diffractometer analysis, Raman spectroscopy, BET-surface analysis, energy dispersive X-ray spectroscopy and transmission electron microscopy. For the gas-sensing results, the gas-sensing performances have been studied towards 0.005-0.1 vol% HCOOH concentrations in dry air with different operating temperatures ranging from 200 to 400°C. The gas-sensing measurement results demonstrated that the optimal 0.5 wt% graphene-loaded spinel Zn2SnO4 sensor selectively displayed the highest response of ~4970 towards HCOOH at 300°C comparing to those of the other various gases. Therefore, the effect of graphene loading on spinel Zn2SnO4 based HCOOH sensors can be an attractive choice for VOAs detection and may be useful for food science and industrial applications.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประดิษฐ์ตัวรับรู้แก๊สที่มีวัสดุผสมกราฟีน/ซิงค์สแตนเนตเป็นฐานสำหรับการตรวจหาสารอินทรีย์ระเหยง่ายen_US
dc.title.alternativeFabrication of gas sensor based on graphene/zinc stannate composite for volatile organics detectionen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashวัสดุศาสตร์-
thailis.controlvocab.thashสังกะสี-
thailis.controlvocab.thashแก๊ส-
thailis.controlvocab.thashกราฟีน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้ได้นำกราฟีนมาเพิ่มประสิทธิภาพของตัวรับรู้แก๊สบนฐานวัสดุประกอบระหว่างอนุภาคนาโนซิงค์สแตนเนตบริสุทธิ์ที่ถูกสังเคราะห์โดยกระบวนการเฟลมสเปรย์ไพโรลิซิส เพื่อประดิษฐ์เป็นตัวรับรู้แก๊สฐานวัสดุที่มีประสิทธิผล ในการตรวจจับแก๊สจำเพาะ และทำการโหลดด้วยกราฟีนที่ถูกสังเคราะห์ด้วยกระบวนการลอกผิวทางไฟฟ้าเคมีปริมาณร้อยละ 0.2-5 โดยน้ำหนัก ในส่วนของสมบัติเชิงโครงสร้างสมบัติทางกายภาพ และสมบัติทางเคมี ได้ถูกหาลักษณะเฉพาะและสัณฐานวิทยา โดยการวิเคราะห์พื้นที่ผิวจำเพาะและการวิเคราะห์ด้วยรังสีเอกซ์โดยเทคนิคบีอีที เทคนิครามาน กล้องใช้เทคนิคการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์ จุลทรรศน์อิเล็กตรอนส่องกราดและส่องผ่าน การวิเคราะห์การกระจายตัวของพลังงานรังสีเอกซ์และวิเคราะห์โดยเครื่องสเปค โทรสโคปีของอิเล็กตรอนที่ถูกปลดปล่อยด้วยรังสีเอกซ์และในส่วนของสมบัติการตอบสนองต่อแก๊ส ได้ศึกษาพฤติกรรมการทดสอบแก๊สต่อไอระเหยของกรดฟอร์มิกความเข้มข้น 0.005-0.1 vol% ที่อุณหภูมิการทำงานของตัวรับรู้ช่วง 200-350 องศาเซลเซียส ภายใต้สภาวะอากาศปราศจากความชื้น จากผลการทดสอบพบว่า ปริมาณการโหลดด้วยกราฟีนที่ร้อยละ 0.5 โดยน้ำหนัก ในซิงค์สแตนเนตแสดงความไวในการตอบสนองระดับปานกลางประมาณ ~4970 ต่อความเข้มข้นไอระเหยของกรดฟอร์มิกที่ 0.1 vol% ณ อุณหภูมิ 300 องศาเซลเซียส ดังนั้นผลของการโหลดด้วยกราฟีนต่อการตอบสนองต่อไอระเหยของกรดฟอร์มิกของซิงค์สแตนเนตโครงสร้างสปิเนล สามารถเป็นวัสดุทางเลือกที่ถูกใช้ในการตรวจจับ ไอระเหยของกรดฟอร์มิกและอาจถูกนำไปใช้ประโยชน์ในการประยุกต์เชิงวิทยาศาสตร์อาหารและอุตสาหกรรมได้ต่อไปen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640531018 นางสาววิภาวี เจียมใจ.pdf15.38 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.