Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79195
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorNongyao Nawarat-
dc.contributor.advisorPanadda Rerkplian-
dc.contributor.advisorOmsin Chatuporn-
dc.contributor.authorPanadda Pananilen_US
dc.date.accessioned2023-11-15T14:51:47Z-
dc.date.available2023-11-15T14:51:47Z-
dc.date.issued2023-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79195-
dc.description.abstractThere are 3 objectives of this dissertation: 1. To study and analyze the social and cultural background of students in the Chaing Mai's peri urban. 2. To study and analyze the English teachers' curriculum and the curriculum of organizing which will be related to the students' social and cultural backgrounds. 3. To develop an English curriculum based on Culturally Relevant Pedagogy: CRP of the students in the peri-urban of Chiang Mai. The research question is: What are the characteristics of developing an English curriculum based on the concept of Culturally Relevant Pedagogy (CRP) for the students in the peri-urban of Chiang Mai? The main informants were twenty-three eight grade students in “Panjai Wittaya School” (fictional name), 1 school administrator, 1 English teacher, 2 other teachers, 23 parents of the students and 1 municipal administrator in the school area, totaling 51 people. This research is the R&D research used to develop an English language curriculum based on Culturally Relevant Pedagogy for Students in Chiang Mai Peri Urban Area. The research can be divided into 3 phases: 1) the pre-research and curriculum research phase; It is a study of documents and field studies in the school area and the suburban community of the students used to bring information about the basic perspective in curriculum development. 2)The curriculum research and development phase consists of step Research 1, analysis of knowledge of the background of the community of students, teachers, and parents. D1was the process of creating the curriculum and integrating the curriculum. Step R2 was applying the curriculum as action research in the classroom, and step D2 was evaluating and reflecting on the results of using this curriculum. 3) The post-research and development phase (Post-R&D) was a critical reflection to exchange experiential learning which resulted from the curriculum development process and teaching which focused on CRP and CCW cultural content in the Chiang Mai suburbs. The results of the first phase of the research found that the suburban expansion process influenced economic changes, politics and the multicultural society of people migrating to suburban areas. These children were recipients of the educational services through the school. These students were overlooked through the lens of Deficit Approach. Phase 2 found that these students had their own community cultural wealth (CCW). This knowledge has been absorbed by the students within the context of the family and suburban community where they live and have cultural experiences. They have obtained by living in their society which supported their educational path and cultural learning. The researcher has synthesized this knowledge to develop the curriculum. The curriculum was used as action research in the classroom. After that, there was an evaluation and reflection on the results of using this curriculum. Phase 3 the curriculum has supported these students to give them hope and encouragement in their lives as well as setting goals for their lives.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleDevelopment of the English language curriculum based on culturally relevant pedagogy for students in Chiang Mai peri urban areaen_US
dc.title.alternativeการพัฒนาหลักสูตรภาษาอังกฤษตามแนวคิดศาสตร์การสอนที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมของนักเรียนในพื้นที่ชานเมืองเชียงใหม่en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshEducation -- Curricula-
thailis.controlvocab.lcshCulture-
thailis.controlvocab.lcshSuburbs-
thailis.controlvocab.lcshStudents-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ภูมิหลังทางสังคมและวัฒนธรรมของนักเรียนในพื้นที่ชานเมืองเชียงใหม่ 2. เพื่อศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนของครูวิชาภาษาอังกฤษที่สัมพันธ์กับภูมิหลังทางสังคมและวัฒนธรรมของนักเรียน 3. เพื่อพัฒนาหลักสูตรวิชาภาษาอังกฤษตามแนวคิดศาสตร์การสอนที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม (Culturally Relevant Pedagogy: CRP) ของนักเรียนในพื้นที่ชานเมืองเชียงใหม่ มีปัจจัยและเงื่อนไขใดที่สนับสนุน และเป็นความท้าทาย ในกระบวนการพัฒนาหลักสูตร คำถามการวิจัยคือ การพัฒนาหลักสูตรภาษาอังกฤษตามแนวคิดศาสตร์การสอนที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม (Culturally Relevant Pedagogy: CRP) ของนักเรียนในพื้นที่ชานเมืองเชียงใหม่ มีลักษณะอย่างไร มีปัจจัยและเงื่อนไขใดที่สนับสนุน และเป็นความท้าทาย ในกระบวนการพัฒนาหลักสูตร โดยมีผู้ให้ข้อมูลหลัก ได้แก่ นักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ผู้ปกครองของนักเรียน ครู และผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษาขยายโอกาสแห่งหนึ่งในพื้นที่ชุมชนชานเมืองเชียงใหม่ ตลอดจนผู้นำชุมชน โดยใช้วิธีวิทยาการวิจัยแบบการศึกษาเอกสาร การศึกษาเชิงปรากฏการณ์ภาคสนามที่เกิดขึ้นในโรงเรียนและชุมชนชานเมือง งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (R&D) เพื่อพัฒนาหลักสูตรภาษาอังกฤษตามแนวคิดศาสตร์การสอนที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม ผ่านการพิจารณาแนวคิดใหม่ที่มีต่อหลักสูตรในฐานะการตีความ และสร้างความหมายใหม่ให้กับชีวิตด้วยกระบวนการ autobiographical reflect และวัฒนธรรม ในฐานะทุนความรู้มีอยู่อย่างมั่งคั่งในชุมชน (CCW) ของผู้เรียนในพื้นที่ชานเมืองเชียงใหม่ การวิจัยแบ่งออกได้เป็น 3 ระยะ คือ 1) ระยะก่อนการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร เป็นการศึกษาเอกสารและการศึกษาภาคสนามในพื้นที่โรงเรียนและชุมชนชานเมืองของผู้เรียน เพื่อนำมาสู่ข้อมูลด้านมุมมองพื้นฐานในการการพัฒนาหลักสูตร 2) ระยะการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร ประกอบด้วย ขั้นตอน R1 การวิเคราะห์ทุนความรู้มีอยู่อย่างมั่งคั่งในชุมชนของผู้เรียน ครูแ ละผู้ปกครอง ขั้นตอน D1 กระบวนการการสร้างหลักสูตร และ การบูรณาการหลักสูตร ขั้นตอน R2 การนำหลักสูตรไปใช้ในฐานะการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน และขั้นตอน D2 การประเมินและสะท้อนคิดผลการใช้หลักสูตร 3) ระยะหลังการวิจัยและพัฒนา (Post-R&D) เพื่อเป็นการวิพากษ์ ไตร่ตรอง และ สะท้อนคิดเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เชิงประสบการณ์ที่เป็นผลจากกระบวนการพัฒนาหลักสูตร และการสอนที่เน้นเนื้อหาวัฒนธรรมแบบCRP และ CCW ในพื้นที่ชานเมืองเชียงใหม่ ผลการวิจัย ระยะที่ 1 พบว่ากระบวนการขยายพื้นที่ชานเมืองส่งผลต่อความเปลี่ยนแปลงเชิงเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมพหุวัฒนธรรมของผู้คนที่อพยพเข้ามาสู่พื้นที่ชานเมือง ซึ่งบุตรหลานเป็นผู้เข้ารับบริการทางการศึกษา ผ่านปฏิบัติการสร้างความเป็นพลเมืองทางการศึกษาของโรงเรียน ที่มีการเรียนรู้เนื้อหาทางวัฒนธรรมผ่านมุมมอง Deficit Approach ท่ามกลางความเป็นพลเมืองหน้าใหม่ที่มีชีวิตท่ามกลางรอยตะเข็บที่มีความไม่มั่นคง และการถดถอยของอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ภาษาและวัฒนธรรม ระยะที่ 2 พบว่า ผู้เรียนมีทุนความรู้ทุนความรู้แบบCCW ที่ซึมซับอยู่ในตัวผู้เรียน ภายใต้บริบทของครอบครัวและชุมชนชานเมืองที่ผู้เรียนได้อยู่อาศัย และมีประสบการณ์ทางวัฒนธรรมและการใช้ชีวิตในสังคมที่ประคับประคองเส้นทางการศึกษาและการเรียนรู้วัฒนธรรมผ่านมุมมอง Asset Approach ที่เน้นความเป็นผู้กระทำการ (Agency) ซึ่งส่งผลต่อปฏิบัติการในชีวิตประจำวันของผู้เรียน ผู้วิจัยได้สังเคราะห์ทุนความรู้ดังกล่าวเพื่อเข้าสู่กระบวนการพัฒนาหลักสูตร โดยนำหลักสูตรไปใช้ในฐานะการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน หลังจากนั้นมีการประเมินและสะท้อนคิดผลการใช้หลักสูตรดังกล่าว ระยะที่ 3 ทุนความรู้แบบ CCW มีฐานะเป็นสิ่งค้ำยัน (Scaffolders) เพื่อให้ผู้เรียนมีความหวังและกำลังใจในการดำเนินชีวิตเพื่อสร้างการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นอย่างมีคุณค่าและความหมายตลอดจนการกำหนดเป้าหมายในการใช้ชีวิตen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
๖๐๐๒๕๑๐๐๕ ปนัดดา ปานะนิล.pdf10.91 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.