Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79191
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Chantalak Tiyayon | - |
dc.contributor.advisor | Soraya Ruamrungsri | - |
dc.contributor.advisor | Weenun Bundithya | - |
dc.contributor.author | Absorn Wittayapraparat | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-11-15T10:28:17Z | - |
dc.date.available | 2023-11-15T10:28:17Z | - |
dc.date.issued | 2020-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79191 | - |
dc.description.abstract | Tin Hung Doi (Daiswa polyphylla (Smith) Raf.) is a rare medicinal plant mainly found growing in highland areas. This plant is at risk of extinction because its rhizome has been drastically dug up extensively for sale. There is very little information known about this plant. The objectives of this research were to study the following; 1) growth and development of Tin Hung Doi, including an investigation of habitat and outside environmental affects to highland areas of Chiang Mai, 2) genetic variations of Tin Hung Doi plant. The results showed two kinds of growth and development, flowering and non- flowering plants. The environment where Tin Hung Doi grows showed an average air temperature of 24.64cC with relative humidity of 67.40 percent, and average light intensity at 237.66 Lm m2. Moreover, Tin Hung Doi was found mainly in sandy loam soil which is a slightly acidic. The average organic matter of the soil was 8.01 g 100 g', with cation exchange capacity of 20.57 cmol(t) kg' at altitude 1,046 - 1,394 msl. Tin Hung Doi flower is a single flower sprouting at the top of the stem in the center of a whorl of leaves, comprising of a pedicel, 4-8 sepals or leafy bracts, 3-8 petals which reduce to a filiform structure. There are 10-22 stamens and a pistil with one ovary containing 2-38 ovules. The flowering plants normally emerge from April onwards, followed by shoot growth and young leaves. The flower emerges from the middle of a leaf whorl in April to May. Leaves open from May to June, the flowers bloom from May to July, then fruit setting and seed mature during July to December. The plants enter dormancy from September to January until resuming growth in the next growing season. The anatomy of the Tin Hung Doi flower is not so complicated. Cytology revealed 5 pairs of chromosomes (2n = 10). Root tips collected at 7 a.m. and 12 a.m. had many mitotic cells, 24 and 25 percent, respectively. Plant samples in Wat Chan, Galyani Vadhana district and Pa Kluay, Chom Thong district showed different arm ratios and chromosome types. The genetic variation study by RAPD technique with 18 primers on 30 samples from the same and different areas showed that they can be classified into 4 groups. Reproductive biology of Tin Hung Doi showed stigma viability approximately 35 days after bloom, pollen was viable approximately 15 days after bloom, and pollen germination at 25.90 percent in 1 percent medium supplemented with 5 percent sucrose. Seed viability was 100 percent tested by dying with 0.1 and 1 percent tetrazolium. The seeds germinated approximately 45.71 percent after 12-16 months from sowing. The information from this study can be used for Tin Hung Doi cultivation, breeding, and conservation. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Growth and development, and genetic variation of Tin Hung Doi (Daiswa polyphylla (Smith) Raf.) | en_US |
dc.title.alternative | การเจริญเติบโตและความแปรปรวนทางพันธุกรรมของตีนฮุ้งดอย (Daiswa polyphylla (Smith) Raf.) | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Medicinal plants | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Medicinal plants -- Morphology | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Variation (Biology) | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ตีนฮังดอย (Daiswa polyplylla (Smib) Rat). เป็นพืชสมุนไพรหายากที่พบบนพื้นที่สูงใน ประเทศไทย ปัจจุบันมีการขุดเหง้าจากป้ามาจำหน่ายจนใกล้สูญพันธุ์จากธรรมชาติ ข้อมูลของพืช ชนิดนี้ยังมีอยู่น้อยมาก การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเจริญเดิบโตและสภาพแวดล้อมใน และนอกถิ่นอาศัยของตีนอุ้งดอยบนที่สูงของจังหวัดเชียงใหม่ และศึกษาความแปรปรวนทาง พันธุ กรรมของตีนอุ้งดอย พบว่า ตีนอุ้งดอยมีการเจริญเติบโตของลำต้นเหนือดินสองลักษณะ คือ ต้นที่ออกดอกและไม่ออกดอก แหล่งที่พบตีนฮู้งดอยมีอุณหภูมิอากาศเฉลี่ย 24.64 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ย 67.40 เปอร์เซ็นต์ ความเข้มแสงเฉลี่ย 237.66 ถูเมนต่อตารางเมตร สภาพดิน ร่วนปนทรายเป็นกรดเล็กน้อย มีอินทรีย์วัตถุเฉลี่ย 8.01 กรัมต่อดิน 100 กรัม ความสามารถในการ แลกเปลี่ยนประจุในดินเฉลี่ย 20.57 เซนติโมลของประจุต่อกิโลกรัม ที่ความสูงเหนือระดับน้ำทะเล 1,046 - 1,394 เมตร right) สัณฐานวิทยา ตีนอุ้งดอยมีดอกเป็นดอกเดี่ยว อยู่ด้านบนของลำต้น ออกจากกลางใบที่เรียง แบบฉัตรซึ่งประกอบด้วย ก้านดอก กลีบเลี้ยงหรือใบประดับ 4-8 กลีบ กลีบดอก 3-8 กลีบซึ่ง โครงสร้างลดรูปเป็นเส้นคล้ายเส้นด้าย มีเกสรเพศผู้ 10-22 อัน และเกสรเพศเมียมีรังไข่ 1 อัน ที่มีไข่ อยู่ 2-38 อัน การเจริญเติบโตของลำต้นเหนือดินเกิดระหว่างช่วงเดือนเมษายนถึงมกราคม โดยต้นที่ ออกดอกพ้นการพักตัวและแทงหน่อตั้งแต่เดือนเมษายน จากนั้นมีการเจริญของต้นและ ใบอ่อน แล้ว แทงดอกจากกลางต้นช่วงเดือนเมยายนถึงพฤษภาคม จากนั้นส่วนของใบจึงคลี่ออกช่วงเดือน พฤษภาคมถึงมิถุนายน ดอกพัฒนาและบานช่วงเดือนพฤษภาคมถึงกรกฎาคม มีการพัฒนาผลและเมล็ดช่วงเดือนกรกฎาคมถึงธันวาคมและเข้าสู่ระยะพักตัวช่วงเดือนกันยายนถึงมกราคม แล้วจึงแทง หน่อใหม่ในฤดูกาลต่อไป ลักษณะทางกายวิภาคศาสตร์ไม่ซับซ้อนมาก การศึกษาทางเซลล์วิทยาพบโครโมโซมจำนวน 5 คู่ (20=10) ในช่วงเวลา 7.00 น. และ 24.00 น. พบเซลล์ในระยะไมโตซิส มากที่สุด 24 และ 25 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ โครโมโซมของตีนฮู้งดอยจากพื้นที่วัดจันทร์ อ.กัลยานิวัฒนา และป้ากล้วย อ.จอมทอง มีอัตราส่วนของแขนและชนิดที่แตกต่างกัน ความแปรปรวนทางพันธุกรรมโดยศึกษาด้วย เทคนิด RAPD โดยใช้ไพรเมอร์ร่วมจำนวน 18 ไพรเมอร์ในการวิเคราะห์ สามารถจัดกลุ่มพืชตัวอย่าง จำนวน 30 ตัวอย่าง จากแหล่งต่าง ๆ ที่ 71.00 เปอร์เซ็นต์ ออกได้เป็น 4 กลุ่ม ในแต่ละกลุ่มพบตัวอย่าง พืชจากแหล่งเดียวกันและจากต่างแหล่งกัน ชีววิทยาการสืบพันธ์ของตีนอุ้งดอยพบเกสรเพศเมียมีความพร้อมผสมพันธุ์นาน 35 วันนับ จากดอกบาน เรณูมีชีวิต 15 วันนับจากดอกบาน และสามารถงอกได้ 25.90 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเลี้ยงด้วย อาหารสังเคราะห์ความเข้มข้น 1 เปอร์เซ็นต์ที่เพิ่มน้ำตาลซูโครสความเข้มข้น 5 เปอร์เซ็นต์ เมล็ดมี ชีวิต 100 เปอร์เซ็นต์ เมื่อทดสอบด้วยสารละลายเตตระโซเลียม ความเข้มข้น 0.1 และ 1 เปอร์เซ็นต์ เมล็ดงอกได้ประมาณ 45.71 เปอร์เซ็นต์ หลังเพาะ 12-16 เดือน ข้อมูลที่ได้จากการศึกษานี้สามารถ นำไปใช้ในการปลูกเลี้ยง ปรับปรุงพันธุ์ รวมถึงการอนุรักษ์ตีนอุ้งดอย | en_US |
Appears in Collections: | AGRO: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
540851006-2020-10-12-yZKzVlTsJdWO78vFORyVebP3G9rVWVPD.pdf | 13.98 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.