Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79147
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ลภัสรินทร์ ฉัตรวังคีรี | - |
dc.contributor.author | บวรภัค อิทธิเสรีกุล | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-11-07T07:46:00Z | - |
dc.date.available | 2023-11-07T07:46:00Z | - |
dc.date.issued | 2021-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79147 | - |
dc.description.abstract | The objective of the study “Representations of Chinese Masculinity in Yok Burapha’s Novels” is to examine representations of Chinese masculinity in nine of Yok Burapha’s novels, analyzing them using theories of representation and feminism. The results of the study show that representations of Chinese masculinity in Yok Burapha’s novels are reflected through the plots, characters, settings, and use of language emphasizing Chinese masculinity. There are three kinds of such representations found in Yok Burapha’s novels: 1) representations of Chinese masculinity that align with Chinese ideals in both the personal realm as a father, a husband, and a son, and in the social realm as an elder, an individual who is reliable and provides counseling, and a selfless person. Furthermore, Chinese men are presented as virtuous individuals who are grateful, merciful, diligent, determined to be successful, and honest; 2) representations of Chinese masculinity that are against Chinese ideals, which include involvement with violence, contributing to sexual oppression, and committing sinful acts; 3) representations of Chinese masculinity as something different in society due to the imbalance in the power dynamic between Thai and Chinese people, who possess different ethnicities and cultures. 4) The dynamics with Chinese masculinity are representations of Chinese people created on the basis of society. politics the culture under Thai society, which reflects the dynamics of Chinese men, never stops but changes over time forexample, the gap between ages, as well as the perception and understanding of changes that occur. In conclusion, the representations of Chinese masculinity in Yok Burapha’s novels derive from the personal mindset of Yok Burapha and the concept of being at once both Thai and Chinese, while emphasizing the roles and status of men as superior to those of women in Thai society. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ภาพแทนความเป็นชายจีนในนวนิยายของหยก บูรพา | en_US |
dc.title.alternative | Representations of chinese masculinity in Yok Burapha's novels | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | หยก บูรพา | - |
thailis.controlvocab.thash | บุรุษ -- จีน | - |
thailis.controlvocab.thash | บุรุษ -- การดำเนินชีวิต | - |
thailis.controlvocab.thash | ตัวละครในนวนิยายนวนิยาย | - |
thailis.controlvocab.thash | นวนิยาย | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าอิสระเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์กลวิธีการนำเสนอและการสร้างภาพแทนความเป็นชายจีนในนวนิยายของหยก บูรพา จำนวน 9 เรื่อง โดยใช้กรอบคิดทฤษฎีภาพแทนและสตรีนิยมเป็นแนวทางในการวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า นวนิยายของหยก บูรพามีกลวิธีการนำเสนอภาพแทนความเป็นชายจีนผ่านโครงเรื่อง ตัวละกร ฉาก และการใช้ภาษาเพื่อสนับสนุนให้การสร้างภาพแทนความเป็นชายจีนมีความเด่นชัด แบ่งไ ด้ 4 ลักษณะ ได้แก่ 1) สร้างภาพแทนชายจีนเป็นไปตามอุดมคติความเป็นจีนทั้งในพื้นที่ส่วนตัวในฐานะบิดา สามี และบุตรชาย และในพื้นที่สังคมในฐานะผู้อาวุโส ผู้ให้การพึ่งพิงและ ให้คำปรึกษา ผู้เสียสละ รวมถึงสร้างให้ชายจีนเป็นผู้ยึดมั่นในคุณธรรมมีความกตัญญู มีเมตตา ขยันอดทนอดออมมุ่งมั่นเพื่อความสำเร็จ และซื่อสัตย์ 2) สร้างภาพแทนชายจีนไม่เป็นไปตามขนบความเป็นจีนผ่านการใช้ความรุนแรงและการกดขี่ทางเพศ และเป็นผู้เกี่ยวข้องกับอบายมุข 3) สร้างภาพแทนชายจีนให้มีสถานะมีความเป็นอื่นในสังคมอันเกิดจากความสัมพันธ์เชิงอำนาจที่ไม่เท่าเทียมกันระหว่างคนไทยและคนจีนซึ่งมีความแตกต่างกันทางชาติพันธุ์และวัฒนธรรม 4) พลวัตกับความเป็นชายจีนเป็นภาพแทนคนจีนที่ถูกสร้างขึ้นบนพื้นฐานของสังคม การเมือง วัฒนธรรมภายใต้บริสังคมไทย ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงพลวัตของชายจีนที่ไม่เคยหยุดนิ่งแต่เปลี่ยนแปลงไปตามช่วงเวลาของยุคสมัย ช่องว่างระหว่างช่วงวัย รวมถึงการรับรู้และความเข้าใจในความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น กล่าวโดยสรุป การสร้างภาพแทนความเป็นชายจีนในนวนิยายของหยก บูรพา เป็นกระบวนการสร้างภาพตัวแทนของชายจีนที่มีความเชื่อมโยงกับอุคมการณ์ความคิดของหยก บูรพา และอยู่บนพื้นฐานแนวคิดของการผสมผสานความเป็นจีนและความเป็นไทยเข้าด้วยกัน รวมทั้งมีการขับเน้นให้ผู้ชายมีบทบาทและ เพศสถานะเหนือกว่าผู้หญิงภายใต้บริบทของสังคมไทย | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610131006 บวรภัค อิทธิเสรีกุล.pdf | 2.39 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.