Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79126
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPithoon Thanabordeekij-
dc.contributor.advisorSupanika Leurcharusmee-
dc.contributor.advisorWoraphon Yamaka-
dc.contributor.authorWang, Ziweien_US
dc.date.accessioned2023-10-31T10:10:23Z-
dc.date.available2023-10-31T10:10:23Z-
dc.date.issued2023-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79126-
dc.description.abstractThis thesis investigates the impact of the COVID-19 pandemic on small and medium service enterprises (SMSEs) in China and evaluates the effectiveness of government fiscal policies in response to the crisis. The study assesses the pandemic's influence on various aspects of China's economy, including GDP, consumption, investment, and net exports. Furthermore, it delves into the detailed impact of COVID-19 on SMSEs, focusing on their production, operation, and overall survival. The research employs various analytical methods, including the Bayesian model and the Autoregressive Integrated Moving Average (ARIMA) model, to examine the relationship between macroeconomic variables and the performance of SMSEs during the pandemic. The findings reveal significant challenges faced by SMSEs, including halted production and operation activities and difficulties in accessing rescue funds and support policies. Based on these findings, the study proposes effective countermeasures from a policy perspective to alleviate the negative consequences of the pandemic on SMSEs. These include government overnance strategies, targeted fiscal policies, and the establishment of an effective rescue system to ensure precise policy implementation. The analysis suggests that implementing these measures can help SMSEs recover and contribute to China's overall economic growth and social stability.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleAn Assessment of Covid 19 pandemic and countermeasurment on SMSEs in Chinaen_US
dc.title.alternativeการประเมินผลกระทบและมาตรการการรับมือ COVID-19 ของธุรกิจ SMSEs ในประเทศจีนen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshSmall business -- China-
thailis.controlvocab.lcshCOVID-19 Pandemic, 2020--
thailis.controlvocab.lcshBusiness-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์นี้ศึกษาผลกระทบของการแพร่ระบาดของ COVID-19 ต่อธุรกิจบริการขนาดเล็กและขนาดกลาง (SMSEs) ในประเทศจีนและประเมินประสิทธิภาพของนโยบายการคลังของรัฐบาลในการตอบสนองต่อวิกฤติการศึกษานี้วิเคราะห์ผลกระทบของการแพร่ระบาดในด้านต่าง ๆ ของเศรษฐกิจจีน เช่น ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) การบริโภค การลงทุน และส่วนต่างของการส่งออก นอกจากนี้ยังศึกษาผลกระทบของ COVID-19 ต่อ SMSEs โดยเน้นการผลิต การดำเนินงาน และการดำรงอยู่ของธุรกิจ วิธีการวิเคราะห์ในงานวิจัยนี้ประกอบด้วยแบบจำลอง Bayesian และแบบจำลอง Autoregressive Integrated Moving Average (ARIMA) เพื่อสำรวจความความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่เกี่ยวข้องและเพื่อคาดการณ์ผลกระทบของโรคระบาดในอนาคต ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าผลกระทบของCOVID-19 ต่อ SMSEs มีความรุนแรงอย่างมาก อีกทั้งยังทำให้การลงทุนและการส่งออกลดลงอย่างมาก ในขณะเดียวกัน นโยบายการคลังของรัฐบาลที่มีตั้งแต่การให้สินเชื่อพิเศษ การลดอัตราภาษีและการส่งเสริมการลงทุน เป็นต้น ได้ช่วยลดผลกระทบบางส่วนของ SMSEs และเสริมสร้างความเชื่อมั่นในเศรษฐกิจ ในส่วนของการคาดการณ์ผลกระทบในอนาคต ผลการวิเคราะห์โมเดลBesyeanและ ARIMA แสดงให้เห็นว่า SMSEs จะยังต้องเผชิญกับความท้าทายในการฟื้นตัวหลังวิกฤติ ซึ่งเป็นสาเหตุให้ SMSEs ต้องปรับปรุงการดำเนินงาน ลดความเสี่ยง และเพิ่มความยืดหยุ่นในการดำเนินธุรกิจ เพื่อป้องกันและลดผลกระทบจากสถานการณ์ไม่แน่นอนและความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต สรุปแล้วงานวิจัยนี้สามารถเสนอข้อมูลและข้อเสนอแนะในเชิงนโยบายที่เป็นประโยชน์ต่อ SMSEs และผู้นำรัฐบาลในการจัดทำแผนการและมาตรการส่งเสริมการฟื้นตัวของen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631635826-Ziwei Wang.pdf6.85 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.