Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79109
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรรณพ วงศ์เรือง-
dc.contributor.authorรดามณี รัตนาคมen_US
dc.date.accessioned2023-10-28T09:12:32Z-
dc.date.available2023-10-28T09:12:32Z-
dc.date.issued2565-01-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79109-
dc.description.abstractThis study investigated the removal of fluoride from groundwater by pyrolusite. The pyrolusites studied were divided into two types: water-washed and acid-washed. The results of the study found that the pH at point of zero charge is approximately 4 for both types of pyrolusites. The study of isotherms of pyrolusite adsorption revealed that both types of pyrolusites correspond to the Fruendlish model. The study on the fluoride adsorption kinetics of water-washed pyrolusite corresponded to the pseudo-first-order kinetics reaction and time to reach equilibrium was 30 minutes. Besides, the study on the fluoride adsorption kinetics of acid-washed pyrolusite was consistent with the pseudo-first-order reaction and time to reach equilibrium was 60 minutes. Finally, the removal of fluoride from groundwater by water-washed and acid-washed pyrolusites were 0.0593 and 0.0607 mg fluoride per g pyrolusite, respectively.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectแร่ไพโรลูไซต์en_US
dc.titleการกำจัดฟลูออไรด์ออกจากน้ำใต้ดินโดยแร่ไพโรลูไซต์จากเหมืองในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeFluoride removal from groundwater by pyrolusite from mine in Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashฟลูออไรด์ -- การกำจัด-
thailis.controlvocab.thashน้ำใต้ดิน -- การทำให้บริสุทธิ์-
thailis.controlvocab.thashน้ำใต้ดิน -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashน้ำใต้ดิน -- ลำพูน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้ทำการศึกษาการกำจัดฟลูออไรด์ออกจากน้ำใต้ดิน โดยแร่ไพโรลูไซต์ แร่ไพโรลู ไซต์ที่ทำการศึกษาถูกแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ แบบล้างด้วยน้ำสะอาดและแบบล้างด้วยกรด ผล การศึกษาพบว่า พีเอชที่ทำให้ประจุมีค่าเป็นศูนย์มีค่าประมาณ 4 ของแร่ไพโรลูไซต์ทั้งสองแบบ การศึกษาไอโซเทอมของการดูดชับของแร่ไพโรลูไซต์พบว่า แร่ไพโรลูไซต์ทั้งสองแบบสอดคล้องกับ แบบจำลองฟรุนดิช การศึกษาจนลศาสตร์การดูคซับฟลูออไรด์ของแร่ไพโรลูไซต์แบบล้างด้วยน้ำ สะอาดพบว่า จนลศาสตร์การดูดซับฟลูออไรด์สอดคล้องกับปฏิกิริยาอันดับหนึ่งเทียม เวลาที่ใช้ในการ เข้าสู่สมดุลเท่ากับ 30 นาที ส่วนการศึกษาจนลศาสตร์การดูดซับฟลูออไรด์ของแร่ไพโรลูไซต์แบบล้าง ด้วยกรดสอดคล้องกับปฏิกิริยาอันดับหนึ่งเทียม เวลาที่ใช้ในการเข้าสู่สมดุลเท่ากับ 60 นาที ผล การศึกษาการกำจัดฟลูออไรด์ออกจากน้ำใต้ดิน โดยแร่ไพโรลูไซต์พบว่า แร่ไพโรลูไซต์แบบล้างด้วยน้ำสะอาดและแบบล้างด้วยกรดมีความสามารถในการกำจัดฟลูออไรด์ 0.0593 และ 0.0607 มิลลิกรัมต่อกรัมแร่ไพโรลูไซต์ ตามลำดับen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620631089 รดามณี รัตนาคม.pdf1.7 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.