Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79105
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีวรา สุวรรณ-
dc.contributor.authorธีรภัทร์ จงวิจักษณ์en_US
dc.date.accessioned2023-10-28T09:00:30Z-
dc.date.available2023-10-28T09:00:30Z-
dc.date.issued2564-02-18-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79105-
dc.description.abstractPower generation nowadays is still based on Coal power plants which come up with some pollutions such as the oxides of Sulphur, Nitrogen, or small particle matters. Therefore, specific treatment processes are installed to eliminate or reduce the amount of those harmful toxins. One of the important treatment processes for the coal-fired power plant is Nitrogen oxide (NOx) treatment. Mae Moh Power Plant, the largest coal-fired power plant in Thailand, is currently using a typical NOx treatment system called the "Low NOx burning system". However, for the establishment of new power generators Units 4-7, a new NOx treatment system has been used and known as the "Selective Catalytic Reduction system (SCR)". More efficiency on NOx control for. SCR technologies is achieved by injecting, aqua ammonia (NHx(aq)) or another reductant (NHx(g)) into a furnace or flue gas to convert NOx to N2. Nevertheless, From the process of ammonia injection, there is a chance of unreacted ammonia escaping from the flue gas, yielding ammonia-contaminated fly ash called "'SCR- fly ash". The main objectives of this study are to investigate the characteristics of the SCR-fly ash in comparison with typical high calcium fly ash (H.Ca.) and to evaluate the properties of both OPC-fly ash blended and geopolymer cement pastes using those two types of fly ash. The results showed that the amount of ammonium contamination in SCR-fly ash was dramatically reduced in the first 20 to 30 days after production, and continuously reduce by the passing time. At the testing age of 200 days, it was found that there were no significant differences in the OPC-fly ash blended mixture. But, however, the compressive strength of SCR-fly ash-based geopolymer paste was significantly decreased due to the adverse effects between ammonia residue and alkaline activator in the system. Apart from that, there is no improvement in the mechanical properties of the geopolymer paste with additional nano-silica as an admixture in this study.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectจีโอโพลิเมอร์ซีเมนต์en_US
dc.titleผลของเถ้าลอยจากกระบวนการรีดักชันโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาต่อสมบัติของปอร์ตแลนด์ซีเมนต์เพสต์และจีโอพอลิเมอร์เพสต์en_US
dc.title.alternativeEffect of fly ash from selective catalytic reduction process on properties of portland cement paste and geopolymer pasteen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashโรงไฟฟ้าแม่เมาะ-
thailis.controlvocab.thashเถ้าลอย-
thailis.controlvocab.thashปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์-
thailis.controlvocab.thashผลิตภัณฑ์พลอยได้-
thailis.controlvocab.thashโรงไฟฟ้าพลังถ่านหิน -- ลำปาง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการผลิตไฟฟ้าโดยใช้เชื้อเพลิงถ่านหินยังคงเป็นแนวทางหลักในปัจจุบันซึ่งส่งผลทำให้เกิดมลพิษ ตามมาในหลายรูปแบบ เช่นออกไซค์ของซัลเฟอร์(SO ),ออกไซค์ของไนโตรเจน(NO.) หรือฝุ่น ละอองขนาดเล็กในอากาศ ซึ่งมลพิษต่างๆเหล่านี้ต้องมีการบำบัดหรือจัดการให้มีความปลอดภัยก่อน ปล่อยสู่บรรยากาศ โรงไฟฟ้าแม่เมาะเป็นหนึ่งในโรงไฟฟ้าถ่านหินที่มีกำลังการผลิตไฟฟ้ใหญ่ที่สุด ในประเทศไทย หนึ่งในมลพิษที่เกิดขึ้นและทางโรงไฟฟ้ให้ความสำคัญในการบำบัด ได้แก่ ออกไซด์ ของไนโตรเจน (NO) เดิมมีการจัดการ โดยการใช้เตาเผาชนิด ออกไซด์ของไนโครเจนต่ำ(Low NO Bumes) อย่างไรก็ดีในปัจจุบันโรงไฟฟ้าทดแทนโรงไฟฟ้แม่เมาะที่สร้างขึ้นใหม่ เครื่องที่ 4-7 ได้ มี การติดตั้งชุดอุปกรณ์เพื่อควบคุมออกไซค์ของไนโตรเจนผ่านกระบวนการรีดักชันโดยใช้ตัวเร่ง ปฏิกิริยา(Selective Catalytic Reduction; SCR) โดยระบบ SCRนี้จะใช้แอมโมเนียฉีดเข้าไปทำ ปฏิกิริยากับออกไซด์ของไนโตรเจนที่เกิดขึ้นจากกระบวนการเผาถ่านหิน เปลี่ยนออกไซด์ของ ไนโตรเจน(No) เป็นน้ำ(H.0) และก๊าซไนโตรเจน(N) ซึ่งจากกระบวนการนี้สามารถทำให้เกิด แอมโมเนียส่วนเกินจากการทำปฏิกิริยาปนเปื้อนในเถ้าลอยซึ่งเป็นวัสดุพลอยได้จากการผลิต กระแสไฟฟ้านี้ได้ จากที่กล่าวมางานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินคุณสมบัติของเถ้าลอย SCR นี้ ในการใช้งานในปูนปอร์ตแลนด์ซีเมนต์และจีโอพอลิเมอร์เมื่อเปรียบเทียบกับเถ้าลอยแคลเซียมสูง (High calcium fly ash; H.Ca) ที่เป็นเถ้าลอยเดิมที่เกิดขึ้นและ ใช้เป็นส่วนประกอบในการผลิตคอนกรีต ในปัจจุบัน การทคสอบในงานวิจัยนี้ประกอบด้วย 3 ส่วนหลักได้แก่ (1) การทดสอบคุณสมบัติพื้นฐาน ของเถ้าลอย (2) การทดสอบคุณสมบัติทางวิศวกรรมของเถ้าลอยในปอร์ตแลนด์ซีเมนต์เพสต์ (Portland cement paste) และ (3) การทดสอบคุณสมบัติทางวิศวกรรมของเถ้าลอยในจีโอโพลิเมอร์ เพสต์ (Geopolymer paste) นอกจากนี้ผู้วิจัยได้ทำการทคสอบเพิ่มเดิมในส่วนของการใช้นาโนชิลิกา เป็นสารผสมเพิ่มสำหรับการสังเคราะห์จี โอพอลิเมอร์ที่บ่มที่อุณหภูมิแวดล้อมเพื่อเป็นแนวทางในการ ต่อยอดในงานวิจัยถัดไปในอนาคตจ ากการทดสอบพบว่าการปนเปื้อนแอมโมเนียในเถ้าลอย SCR มี ปริมาณลดลงตามลำดับเมื่อเวลาผ่านไป โดยจะลดลงอย่างรวดเร็วในช่วง 10 ถึง 20 วันแรกหลัง กระบวนการเผาถ่านหิน และมีแนวโน้มลดลง อย่างต่อเนื่อง ในการทดสอบได้นำเถ้าลอยที่มีอายุ 200 วันหลังผ่านกระบวนการเผาถ่านหินมาใช้งานพบว่ามีปริมาณแอมโมเนียตกค้างประมาณ 2.17 มก./ กก.ในการทดสอบกำลังรับแรงอัดของเถ้าลอย SCR และเถ้าลอย H.Caในการผสมปอร์ตแลนด์ซีเมนต์ เพสต์ พบว่ากำลังอัดของปอร์ตแลนด์ซีเมนต์พสต์ทั้งสองมีค่าที่ใกล้เคียงกัน โดยปอร์ตแลนด์ซีเมนค์ เพสต์ผสมเถ้าลอย SCR มีค่าต่ำกว่าเพียงเล็กน้อย ซึ่งเป็นผลมาจากความไม่แน่นอนขององค์ประกอบ และลักษณะของเถ้าลอยเป็นหลักในส่วนของการใช้เถ้าลอย SCR และเถ้าลอย H.Ca ในการสังเคราะห์ จีโอพอลิเมอร์เพสต์พบว่ากำลังอัดของจี โอพอลิเมอร์เพสต์จากเถ้าลอย SCR. มีค่าที่ต่ำกว่าจีโอพอลิ เมอร์เพสต์จากเถ้าลอย H.Ca. รวมถึงระยะเวลาก่อตัวของจีโอพอลิเมอร์เพสต์จากเถ้าลอย SCR. มีค่า มากกว่าจีโอพอลิเมอร์เพสต์จากเถ้าลอย H.Ca อย่างชัดเจน. สาเหตุดังกล่าวซึ้งอาจเกิดจากเกลือ แอมโมเนียมในเถ้ำาลอยมีการทำปฏิกิริยากับสารละลายด่างของจี โอพอลิเมอร์และหน่วงการก่อตัวอีก ทั้งเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้การเกิดปฏิกิริยาไม่สมบูร ณ์เท่าที่ควร ในส่วนของการใช้นาโน-ชิลิกาเป็นสาร ผสมเพิ่มในจี โอพอลิเมอร์เพสต์จากเถ้าลอยทั้งสองชนิคที่บ่มในอุณหภูมิธรรมชาติพบว่าไม่ได้ส่งผล ให้มีความสามารถในการรับกำลังอัดที่เพิ่มขึ้นen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620631012 ธีรภัทร์ จงวิจักษณ์.pdf6.62 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.