Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79104
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพีรพงศ์ จิตเสงี่ยม-
dc.contributor.authorกตัญญู นิรันดร์กุลสิทธิ์en_US
dc.date.accessioned2023-10-28T08:55:59Z-
dc.date.available2023-10-28T08:55:59Z-
dc.date.issued2564-12-22-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79104-
dc.description.abstractMae Moh Coal Mine is the largest open-pit mine in Thailand. Nowadays, the mine is continuing mining operations with higher depth of more than 300 meters in the future. Therefore, the long-term stability associated with the creep behavior of the claystone which is the main component of Mae Moh mine slopes must be seriously considered. Creep is a time-dependent behavior of a material under the condition of constant stress for a curtain time period. This paper aimed to develop a mathematical model of creep behavior of Mae Moh claystone based on the specially customized multi-stage creep tests. With the help of microscopic tests, the properties of claystone will be better interpreted. XRF, XRD, FT-IR and SEM tests revealed that the calcite 42.2%, quartz 37.5%, kaolinite 17.5%, and pyrite 2.9%. The creep mathematical models were used to simulate the creep behavior of Mae Moh claystone under a range of stress conditions of the Mae Moh mine. Four models of Maxwell model, Kelvin model, Kelvin-Voigt model and Bugers Creep model were proposed in this study. The result showed that the Bugers Creep model had a good agreement between the test results and a model. This could be used to describe the creep behavior of Mae Moh claystone.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาแบบจำลองทางคณิตศาสตร์สำหรับพฤติกรรมการคืบของหินดินเหนียวจากเหมืองถ่านหินแม่เมาะen_US
dc.title.alternativeDevelopment of mathematical model for creep behavior of claystone from Mae Moh Coalen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashเหมืองถ่านหินแม่เมาะ-
thailis.controlvocab.thashหินดินเหนียว -- การคืบ-
thailis.controlvocab.thashเหมืองและการทำเหมืองถ่านหิน -- แบบจำลองทางคณิตศาสตร์-
thailis.controlvocab.thashเหมืองและการทำเหมืองถ่านหิน -- ลำปาง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractเหมืองถ่านหินแม่เมาะเป็นเหมืองเปิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ซึ่งในปัจจุบัน เหมืองมีการดำเนินงานขุดเหมืองอย่างต่อเนื่องและจะมีการคำเนินการทำเหมือนต่อไปที่ระดับความ ลึกที่มากกว่า 300 เมตรในอนาคต ซึ่งจะต้องคำนึงถึงเสถียรภาพในระยาวของบ่อเหมือง ที่มีหินดิน เหนียว (Claystone) เป็นองค์ประกอบหลักของลาดเหมืองแม่เมาะ โดยการคืบ(Creep) ซึ่งเป็น คุณสมบัติด้านการเปลี่ยนแปลงรูปร่างที่มีความเกี่ยวเนื่องกับเวลาของวัสดุ ภายใต้สภาวะความเค้นคงที่ เป็นเวลานาน ดังนั้นการขุดเปิดเหมืองในระดับลึกจะส่งผล โดยตรงต่อการคืบของลาดเหมืองแม่เมาะ และจะยังผลต่อเสถียรภาพของลาดเหมืองอย่างหลีกเสี่ยงไม่ได้ บทความนี้เป็นการศึกษาและจำลอง พฤติกรรมการคืบของหินดินเหนียวแม่เมาะบนพื้นฐานการทดสอบการคืบหลายระดับ (muti-stage creep tests) ที่ได้รับการออกแบบเพื่อทดสอบโดยเฉพาะ การทดสอบทางด้านจุลภาคได้ถูกนำมาช่วย ในการวิเคราะห์คุณสมบัติของหินดินเหนียว ในการทดสอบ XRF, XRD , FT-IR และ SEM ทำให้ ทราบว่าในหินดินเหนียวนี้ประกอบไปด้วย Calcite 42.2%, Quartz 37.59%, Kaolinite 17.5% และ Pyrite 2.9% แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของการคืบถูกนำมาใช้ในการจำลองพฤติกรรมการคืบของ หินดินเหนียวเม่เมาะ 4 แบบจำลอง ได้แก่ Maxwell model, Kelvin model, Kelvin - Voigt model และ Bugers Creep model จากการศึกษาพบว่าแบบจำลอง Bugets Creep model มีความสัมพันธ์ที่ดี มีความ สอดคล้องกันระหว่างผลการทดสอบกับแบบจำลอง ซึ่งสามารถนำแบบจำลองนี้มาใช้ในการอธิบาย พฤติกรรมการคืบของหินดินเหนียวแม่เมาะได้en_US
Appears in Collections:ENG: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.