Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79096
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชยารพ สุพรรณชาติ | - |
dc.contributor.advisor | สุทธิชัย กฤษณะประกรกิจ | - |
dc.contributor.author | จีรนันท์ ประกอบการ | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-10-21T07:33:30Z | - |
dc.date.available | 2023-10-21T07:33:30Z | - |
dc.date.issued | 2021-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79096 | - |
dc.description.abstract | Guided bone regeneration (GBR) is widely used for bone regeneration around the dental implants which require a barrier membrane to exclude soft tissue from the bone defect site. Electrospun poly (L-lactide-co--caprolactone), PLC, is a polymer membrane which is biocompatibility, biodegradable in an appropriate time and mimic extracellular matrix in human tissues to promote cell adhesion. LL-37 is an antimicrobial peptide found in innate immunity of humans that are against pathogens, promote wound healing and bone regeneration. Currently, there is still no study about adding LL-37 into the barrier membrane. Hence, in this study, we fabricated a polymer membrane for guided bone regeneration which can provide sustained-release antimicrobial peptides. Therefore, the objective of this work was to study the release of LL-37 from the PLC membrane in vitro. reserved In this study, LL-37 was physically adsorbed to collagen scaffold (LL/Col) followed by coated with PLC nanofibrous scaffold to produce the LL/Col/PLC membrane. The LL/Col/PLC and LL/Col membranes were incubated in sterile PBS at 37C for 14 days. Cumulative release of LL-37 in release medium at 4 hours, 1 day, 7 days and 14 days were measured by using enzyme-linked immunosorbent assay. Characterization of the LL/Col/PLC membranes was studied by scanning electron microscope. The effect of LL-37 released from the LL/Col/PLC membranes on the vitality of human monocytes and mouse fibroblasts were studied by MTT assay. According to the result of ELISA, burst release of LL-37 was exhibited in the control group. In contrast, the study group showed sustained release of LL-37 that was significantly less than the control group at 4 hours, 1 day, 7 days and 14 days (P<0.05), which improved wound healing and bone regeneration. Furthermore, the surface morphology of the electrospun PLC mimicked the extracellular matrix for cell adhesion. LL-37 released from the PLC membranes significantly increased the vitality of human monocytes (P<0.05) and had no toxicity to mouse fibroblasts. Based on these results, the LL/Col/PLC membrane developed in this study can sustain release of LL-37 in clinically relevant doses. Therefore, the LL/Col/PLC membrane is a promising material for guided bone regeneration membrane which will further enhance bone regeneration. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การศึกษาการปล่อยเพปไทด์ต้านจุลชีพจากแผ่นเยื่อกั้นชนิดพอลิ (แอล-แลกไทด์-โค-คาร์โปรแลคโตน) ในห้องปฏิบัติการ | en_US |
dc.title.alternative | The in vitro study of releasing antimicrobial peptide from the integrated poly (L-lactide-co--caprolactone) membrane | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | พอลิ (แอล-แลกไทด์-โค-คาร์โปรแลคโตน) | - |
thailis.controlvocab.thash | เปปไทด์ต้านจุลชีพ | - |
thailis.controlvocab.thash | สารต้านจุลชีพ | - |
thailis.controlvocab.thash | ทันตกรรมรากเทียม | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การชักนำกระดูกคืนสภาพเป็นวิธีที่นิยมถูกใช้ในการปลูกกระดูกรอบรากฟันเทียม โดยอาศัย แผ่นเชื่อกั้น เพื่อกั้นแยกเซลล์เนื้อเยื่ออ่อนออกจากตำแหน่งที่ต้องการสร้างกระดูก พอลิเมอร์ชนิดพอลิ (แอล-แลกไทด์ -โค-คาร์โปรแลคโตน) ถูกนำมาขึ้นรูปเป็นแผ่นเยื่อกั้น โดยเทคนิคอิเล็ก โตรสปินนิง เพราะมีคุณสมบัติเข้ากันได้กับเนื้อเยื่อ มีการย่อยสลายทางชีวภาพได้น่าจะเหมาะสมกับระยะการสร้าง กระดูก นอกจากนี้ยังมีโครงสร้างคล้ายกับเมทริกซ์นอกเซลล์ในเนื้อเยื่อมนุษย์เพื่อเอื้อกับการเกาะของ เซลล์ แอลแอล-37 เป็นเพปไทด์ต้านจุลชีพชนิดหนึ่งที่พบในระบบภูมิคุ้มกัน โดยกำเนิดของมนุษย์ซึ่งมี คุณสมบัติต่อต้านจุลชีพและส่งเสริมการหายของแผลรวมถึงส่งเสริมการสร้างกระดูก ปัจจุบันยังไม่มี การศึกษาที่เติมแอลแอล-37 ลงในแผ่นเยื่อกั้นสำหรับงานชักนำกระดูกคืนสภาพ หากแผ่นเยื่อกั้น สำหรับงานชักนำกระดูกคืนสภาพมีคุณสมบัติควบคุมการปล่อยแอลแอล-37 ได้จะช่วยส่งเสริมการ สร้างกระดูกได้ ดังนั้นการศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อสังเกตการปล่อยแอลแอล-37 ออกจากแผ่นเยื่อ กั้นชนิดพอลิ(แอล-แลกไทค์-โค-คาร์โปรแลคโตน) ในห้องปฏิบัติการ ในการศึกษานี้แอลแอล-37 จะถูกดูดซึมลงบนแผ่นเยื่อกั้นชนิดคอลลาเจน และถูกห่อหุ้มด้วยพอลิ (แอล-แลกไทด์ โค-คาร์ โปรแลกโตน) ขึ้นรูปโดยเทคนิคอิเล็กโตรสปินนิง แผ่นเยื่อกั้นถูกแช่ใน สารละลายฟอสเฟตบัฟเฟอร์ซาลีนที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 14 วัน แอลแอล-37 ที่ถูก ปล่อยออกมาในสารละลายฟอสเฟตบัฟเฟอร์ซาลีนที่ระยะเวล1 4 ชั่วโมง 1 วัน 7 วันและ 14 วันถูกวัด ปริมาณด้วยเทกนิคอีไลซา โครงสร้างทางกายภาพของแผ่นเยื่อกั้นถูกสังเกตด้วยกล้องจุลทรรศน์ อิเล็กตรอนแบบส่องกราด และผลกระทบของแอลแอล-37 ที่ถูกปล่อยออกมาจากแผ่นเยื่อกั้นต่อความ มีชีวิตของเซลล์โมโนซัยท์ของมนุษย์และเซลล์สร้างเส้นใยของหนูถูกศึกษาด้วยวิธีเอ็มทีที ผลการศึกษาด้วยเทคนิคอีไลซาพบว่าแผ่นเยื่อกั้นที่ไม่มีพอลิเมอร์หุ้มสามารถปล่อย แอลแอล-37 ออกมาในสารละลายเพิ่มขึ้นเร็วอย่างต่อเนื่อง ขณะที่แผ่นเยื่อกั้นที่หุ้มด้วยพอลิเมอร์ สามารถค่อยๆปล่อยแอลแอล-37 ออกมาในปริมาณที่ต่ำกว่าแผ่นเยื่อกั้นที่ไม่มีพอลิเมอร์หุ้ม อย่างมีนัยสำคัญที่ระยะเวลา 4 ชั่วโมง 1 วัน 7 วันและ 14 วัน (P < 0.05) ซึ่งเป็นปริมาณที่สามารถ กระตุ้นการหายของแผลและการสร้างกระดูกโดยไม่เป็นพิษต่อเซลล์ และด้วยลักษณะที่เป็นเส้นใย ประสานกันของแผ่นเยื่อกั้นที่ผ่านการขึ้นรูปโดยเทคนิคอิเล็กโตรสปินนิงจึงเอื้อให้เกิดการเกาะของ เซลล์ โดยแอลแอล-37 ที่ถูกปล่อยออกมาจากแผ่นเยื่อกั้นชนิดคอลลาเจนที่มีแอลแอล-37 หุ้มด้วยพอลิ(แอล-แลกไทด์-โค-คาร์โปรแลคโตน) ขึ้นรูปโดยเทคนิคอิเล็กโตรสปินนิง ทำให้ปริมาณ เซลล์โมโนซัยท์ที่มีชีวิตเพิ่มมากขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ (P < 0.05) และไม่มีความเป็นพิษต่อเซลล์ สร้างเส้นใยของหนู การศึกษานี้สรุปได้ว่าแผ่นเยื่อกั้นชนิดคอลลาเจนที่มีแอลแอล-37 หุ้มด้วยพอลิ(แอล-แลกไทด์-โค- คาร์ โปรแลคโตน) ที่ขึ้นรูปโดยเทคนิคอิเล็กโตรสปินนิงสามารถควบคุมการปล่อยแอลแอล-37 ได้ใน ปริมาณที่มีผลในทางคลินิก ดังนั้นแผ่นเยื่อกั้นนี้จึงอาจเป็นทางเลือกหนึ่งสำหรับใช้ในงานชักนำ กระดูกคืนสภาพที่สามารถส่งเสริมการสร้างกระดูกได้ | en_US |
Appears in Collections: | DENT: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
600931011 จีรนันท์ ประกอบการ.pdf | 6.41 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.