Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79089
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธิกัญจน์ ทิพยเกสร-
dc.contributor.advisorรัชนีกร ทองสุขดี-
dc.contributor.authorอภิชญา ศรีทองen_US
dc.date.accessioned2023-10-21T04:25:18Z-
dc.date.available2023-10-21T04:25:18Z-
dc.date.issued2023-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79089-
dc.description.abstractThe purpose of this thesis was to develop the memory ability of a student with deafness and intellectual disabilities. The case study, female aged 11 years with an Intelligence Quotient level of 36, was selected based on a purposive sampling. The tools used in the research were 1) a pre- and post-test, 2) four individualized implementation plans, namely: Plan 1: My Name; Plan 2: My Favorite Snack; Plan 3: My Father; and Plan 4: My Mother. Plans were taught 10 times per plan for 30 minutes each. Data were analyzed using frequencies, percentages, mean and descriptive analysis. The results of research indicated that a pretest mean score was 11.50 and a posttest mean score was 29.75, with a difference of 18.25 point (36.50 %). The results of using modelling technique with sign language VDO exercises to improve sign language vocabulary memory of a student with deafness and intellectual disabilities revealed as follows: 1. For Plan 1: My Name, it was found that a vocabulary memory score of the case study at a pretest was 40 % and a score at a posttest was 80 %, which was at a very good level. 2. For Plan 2: My Favorite Snack, it was found that a vocabulary memory score of the case study at a pretest was 50 % and a score at a posttest was 60 %, which was at a good level. 3. For Plan 3: My Father, it was found that a vocabulary memory score of the case study at a pretest was 20 % and a score at a posttest was 70 %, which was at a good level. 4. For Plan 4: My Mother, it was found that a vocabulary memory score of the case study at a pretest was 20 % and a score at a posttest was 60 %, which was at a good level.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการใช้ตัวแบบร่วมกับแบบฝึกภาพเคลื่อนไหวภาษามือเพื่อพัฒนาการจำคำศัพท์ภาษามือของนักเรียนหูหนวกและบกพร่องทางสติปัญญาen_US
dc.title.alternativeUse of modelling technique with sign language VDO exercises to improve sign language vocabulary memory of a student with deafness and intellectual disabilitiesen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashภาษามือ-
thailis.controlvocab.thashภาษาท่าทาง-
thailis.controlvocab.thashการสื่อสารโดยไม่ใช้คำพูดในการศึกษา-
thailis.controlvocab.thashนักเรียนหูหนวก-
thailis.controlvocab.thashนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาความสามารถในการจำของนักเรียนหูหนวกและบกพร่องทางสติปัญญา กรณีศึกษาได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง เพศหญิง อายุ 11 ปี มีระดับสติปัญญา เท่ากับ36 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน 2) แผนการสอน เฉพาะบุคคลที่ใช้จำนวน 4 แผน ได้แก่ แผนการสอนที่ 1 เรื่องชื่อของฉัน แผนการสอนที่ 2 เรื่องขนม ที่ฉันชอบ แผนการสอนที่ 3 เรื่องพ่อของฉัน แผนการสอนที่ 4 เรื่องแม่ของฉัน สอนแผนละ 10 ครั้ง ครั้งละ 30 นาที วิเคราะห์ข้อมูลใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 11.50 คะแนน และหลังเรียนเท่ากับ 29.75 คะแนน ผลต่างเท่ากับ 18.25 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 36.50 การใช้ตัวแบบร่วมกับแบบฝึกภาพเคลื่อนไหวภาษามือสามารถพัฒนาการจำคำศัพท์ภาษามือของนักเรียนพิการซ้อนหูหนวกและมีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา มีผลการวิจัยดังนี้ 1) ผลการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชื่อของฉัน พบว่า ความสามารถในการจำคำศัพท์ก่อนเรียนของกรณีศึกษาคิดเป็นร้อยละ 40 และหลังการสอนคิดเป็นร้อยละ 80 ระดับคุณภาพ ดีมาก 2) ผลการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องขนมที่ฉันชอบ พบว่า ความสามารถในการจำคำศัพท์ก่อนเรียนของกรณีศึกษาคิดเป็นร้อยละ 50 และหลังการสอนคิดเป็นร้อยละ 60 ระดับคุณภาพดี 3) ผลการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องพ่อของฉัน พบว่า ความสามารถในการจำคำศัพท์ก่อนเรียนของกรณีศึกษาคิดเป็นร้อยละ 20 และหลังการสอนคิดเป็นร้อยละ 70 ระดับคุณภาพดี 4) ผลการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องแม่ของฉัน พบว่า ความสามารถในการจำคำศัพท์ก่อนเรียนของกรณีศึกษาคิดเป็นร้อยละ 20 และหลังการสอนคิดเป็นร้อยละ 60 ระดับคุณภาพดีen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610232044-อภิชญา ศรีทอง.pdf2.9 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.