Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79078
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorChukiat Chaiboonsri-
dc.contributor.authorPetrus David Sulaksmonoen_US
dc.date.accessioned2023-10-18T00:57:49Z-
dc.date.available2023-10-18T00:57:49Z-
dc.date.issued2023-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79078-
dc.description.abstractThis research aims to develop a small-scale New Keynesian DSGE model from the relative performance of various monetary and macroprudential policy combinations when the Indonesian economy is affected by Covid-19 outbreak and the projection after Covid-19 pandemic. Besides that, this study will also analyze the impulse-responses to orthogonalized shock in technology, inflation, domestic price, capital flow, and some policies related to monetary and macroprudential policy shocks. This study uses the Bayesian Estimation method approach in estimating the DSGE Model. The data used in this study is national economic and banking data in Indonesia in the period 2009.Q3 to 2022.Q4 using 16 variables and 5 macroprudential policies. We found that the technological shock was the most influenced by mixture of monetary and macroprudential policy during the Covid-19 pandemic. On the other hand, capital flow management shocks do not have a significant impact on policy implementation. During the pandemic, only a mixture of monetary policy with Capital Adequacy Ratio, Countercyclical Buffer, Macroprudential Intermediation Ratio, and Macroprudential Liquidity Buffer was able to maintain the stability of the financial system that was proven by improved relative well-being during the observation period. Meanwhile, the LTV ratio policy does not make a better contribution than simply using monetary policy (MP) alone in tackling the financial friction during the Covid-19 outbreak.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectDSGE Modelen_US
dc.subjectMonetary Policyen_US
dc.subjectMacroprudential Policyen_US
dc.subjectBayesian Estimationen_US
dc.subjectFinancial Institutionen_US
dc.titleThe Analysis of efficiency for the bank's monetary macroprudential policy during and after the Covid-19 outbreak using the DSGE model in Indonesiaen_US
dc.title.alternativeการวิเคราะห์ประสิทธิภาพสำหรับนโยบายการเงินในการกำกับดูแลสถาบันการเงินของธนาคารกลางระหว่างและหลังการเกิดการระบาดโรคโควิด 19 ของประเทศอินโดนีเซีย โดยใช้แบบจำลอง ดีเอสจีอีen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshIndonesia -- Economic conditions-
thailis.controlvocab.lcshMonetary policy -- Indonesia-
thailis.controlvocab.lcshFinancial institutions -- Indonesia-
thailis.controlvocab.lcshCOVID-19 (Disease) -- Indonesia-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแบบจำลองดีเอสจีอีขนาดเล็กตามความเชื่อของลัทธินิวเคนเซี่ยน จากความสัมพันธ์ที่หลากหลายของนโยบายการเงินและนโยบายที่มีเป้าหมายเพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงเชิงระบบ ในสภาวะที่มีการเกิดขึ้นของโรคโควิด-19 ไปจนถึงเมื่อเกิด การระบาดของโรคในอินโดนีเซีย นอกจากนี้งานวิจัยยังวิเคราะห์การกระตุ้นที่ทำให้เกิดการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในเทคโนโลยี เงินเฟ้อ ราคาภายในประเทศ กระแสทุน และนโยบายที่เกี่ยวข้อง โดยการศึกษาครั้งนี้ได้ใช้การประมาณค่าแบบเบเซี่ยนเพื่อสร้างแบบจำลองดีเอสจีอี ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ประกอบไปด้วยข้อมูลทางเศรษฐศาสตร์ระดับประเทศและข้อมูลเกี่ยวกับ การธนาคารตั้งแต่ไตรมาสที่ 3 ปี 2009 จนถึงไตรมาสที่ 4 ในปี 2022 โดยมีตัวแปรทั้งหมด 16 ตัวและอีก 5 นโยบาย ผลการวิจัยพบว่าการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีเกิดจากส่วนผสมของนโยบายการเงินและนโยบายที่มีเป้าหมายเพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงเชิงระบบระหว่างการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในขณะเดียวกันการเปลี่ยนแปลงของการจัดการกระแสทุนไม่มีผลกระทบที่มีนัยยะสำคัญต่อการใช้นโยบาย ระหว่างการระบาดของโรคโควิด-19 มีเพียงส่วนผสมของนโยบายการเงินที่มีอัตราส่วนความพอเพียงด้านทุน ตัวรองรับการกระแทกที่ไม่เป็นวัฏจักร สัดส่วนการเป็นตัวกลางในการกู้ยืมและสัดส่วนในการเป็นตัวรองรับการกระแทกของการไหลของกระแสนโยบายที่ป้องกันการเกิดความเสี่ยงเชิงระบบ ที่สามารถคงความเสถียรของระบบทางการเงินที่พิสูจน์ด้วยความกินดีอยู่ดีของประชาชนในช่วงเวลาที่ศึกษา ในขณะที่สัดส่วนเอลทีวีไม่แสดงถึงประสิทธิภาพที่ดียิ่งกว่าการใช้นโยบายการเงินอย่างเดียวในขณะที่เกิดการระบาดen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
651635814-Petrus David Sulaksmono.pdf5.65 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.