Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79074
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorขวัญฟ้า ศรีประพันธ์-
dc.contributor.authorจิณห์นิภา มณีกิจen_US
dc.date.accessioned2023-10-17T01:39:58Z-
dc.date.available2023-10-17T01:39:58Z-
dc.date.issued2566-08-15-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79074-
dc.description.abstractThe study “Communication for Cultural Inheritance of Lanna Amulets : A Case Study of Ma Sep Nang Talisman” aimed to study cultural communication to inherit the culture of Lanna amulets by using concepts, theories about amulets and Lanna amulets, concept of Cultural Production and Reproduction and semiotic concepts including the concept of semantic consumption. In this study, the researcher used a qualitative research methodology by using in-depth interview including a study using the analysis of documents related to Ma Sep Nang talisman. The results of the research showed that the Ma Sep Nang talisman was influenced by Burmese and Tai Yai, and has been modified to become Lanna Yant Cloth. For production of Ma Sep Nang talisman (Ma Sep Nang talisman in the traditional era), the overall meaning of Ma Sep Nang talisman in the traditional era. It represented love, charm, mercy, great popularity and money. For reproduction of Ma Sep Nang talisman (new era Ma Sep Nang talisman), it was found that the existence of the reproduced culture could be divided into three characteristics. The existence, reproductive existence and a forward existence. The overall meaning of Ma Sep Nang talisman through reproduction process as same as the traditional Ma Sep Nang talisman. When it was reproduced, Ma Sep Nang talisman had some characteristics that remained and caused changes. The reason of change was that had had been added objectives to meet the needs of the creators. As a result, Ma Sep Nang talisman had additional duties. The reason of change was that it was born out of the will of believing creators. They looked at the meaning of Ma Sep Nang talisman differently. For consumption of Ma Sep Nang talisman when the consumers had consumed Ma Sep Nang talisman, the use of the consumers depended on the purpose of the owners. The use of Ma Sep Nang talisman was popular for charm, trading, gambling, or just carrying it with you for peace of mind. At the same time, consumers would consume Ma Sep Nang talisman to meet their own needs. In other aspects that were not related to the effect of the use of Ma Sep Nang talisman. For the dissemination of Ma Sep Nang talisman style was divided into three characteristics. The dissemination of the author, the sellers and collectors.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการสื่อสารเพื่อการผลิต, การสื่อสารเพื่อการผลิตซ้ำ, ผ้ายันต์ม้าเสพนาง, ความเชื่อ Communication for production, Communication for reproduction, Ma Sep Nang talisman, beliefen_US
dc.titleการสื่อสารเพื่อสืบทอดทางวัฒนธรรมเครื่องรางล้านนา กรณีศึกษา ผ้ายันต์ม้าเสพนางen_US
dc.title.alternativeCommunication for cultural transmission of Lanna Amulets : a case study of Ma Sep Nang Talismanen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashเครื่องรางของขลัง -- ไทย (ภาคเหนือ)-
thailis.controlvocab.thashยันต์ -- ไทย (ภาคเหนือ)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยเรื่อง "การสื่อสารเพื่อสืบทอดทางวัฒนธรรมเครื่องรางล้านนา กรณีศึกษา ผ้ายันต์ม้าเสพนาง" มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสื่อสารเชิงวัฒนธรรมเพื่อสืบทอดวัฒนธรรมของเครื่องรางล้านนา โดยใช้แนวคิดเกี่ยวกับการผลิตและผลิตซ้ำทางวัฒนธรรมของเรย์มอนด์ วิลเลียมส์ (Raymond Williams) ในการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้การสัมภาษณ์แบบเชิงลึก (In-depth Interview) รวมถึงการศึกษาโดยใช้การวิเคราะห์จากเอกสารที่เกี่ยวข้องกับผ้ายันต์ม้าเสพนาง ผลการวิจัย พบว่า ผ้ายันต์ม้าเสพนางเป็นรูปแบบยันต์ที่ได้รับอิทธิพลมาจากทางพม่า ไทใหญ่ที่ผ่านการพลิกแพลง ดัดแปลง เพิ่มเติมให้เป็นผ้ายันต์ของทางล้านนา การผลิตของผ้ายันต์ม้าเสพนาง (ผ้ายันต์ม้าเสพนาง รูปแบบดั้งเดิม มีความหมายโดยรวม คือ สิ่งที่สื่อถึงความรัก เสน่ห์ เมตตามหานิยม และเงินทอง, การผลิตซ้ำผ้ายันต์ม้าเสพบาง (ผ้ายันต์เสพนาง รูปแบบใหม่) การดำรงอยู่ของวัฒนธรรมที่ถูกผลิตซ้ำสามารถแบ่งการดำรงอยู่ได้ ดังนี้ 1. การดำรงอยู่แบบสืบทอดผ่านตำรา, 2. การดำรงอยู่แบบสร้างซ้ำและ 3. การดำรงอยู่แบบส่งต่อ มีความหมายโดยรวมเช่นเดียวกับผ้ายันต์ม้าเสพนางรูปแบบดั้งเดิมแต่มีการเพิ่มเติมในด้านการเรียกจิตให้คนมารัก การผลิตซ้ำผ้ายันต์ม้าเสพบางมีคุณลักษณะบางประการที่คงอยู่และเปลี่ยนแปลงเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้สร้าง ซึ่งส่งผลให้ผ้ายันต์ม้าเสพนางมีหน้าที่เพิ่มเติมขึ้นไปด้วย สาหตุการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมาจากความต้องการของผู้สร้างที่มีความเชื่อ และมองความหมายของผ้ายันต์ม้าเสพนางเปลี่ยนแปลงไป, การบริโภคผ้ายันต์ม้าเสพนางขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ของผู้ที่ครอบครอง นิยมใช้ทางด้านเสน่ห์ การค้าขาย การพนัน การเสี่ยงโชค หรือเพียงพกติดตัวเพื่อความสบายใจเท่านั้น และในขณะเดียวกันจะบริโภค ผ้ายันต์ม้าเสพนางเพื่อตอบสนองความต้องการของตนเองในด้านอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับผลการใช้ผ้ายันต์ม้าเสพนาง และการเผยแพร่ผ้ายันต์ม้าเสพนาง ลักษณะการเผยแพร่ออกเป็น 3 ลักษณะ คือ การเผยแพร่ของผู้สร้าง, การเผยแพร่ของผู้ขาย และการเผยแพร่ของนักสะสม การสื่อสารเพื่อสืบทอดทางวัฒนธรรมเครื่องรางล้านนา กรณีศึกษา ผ้ายันต์ม้าเสพนาง : ผ้ายันต์ม้าเสพนางเป็นการสื่อสารผ่านกระบวนการผลิต และกระบวนการผลิตซ้ำ โดยผ่านการบริโภค รวมถึงการเผยแพร่ของผู้ที่เกี่ยวข้องกับผ้ายันต์ม้าเสพนาง การสื่อสารของผ้ายันต์ม้าเสพนางสามารถแบ่งการสื่อสารออกเป็น 2 ลักษณะ คือ ลักษณะการสื่อสารของผ้ายันต์ม้าเสพนางในฐานะของช่องทางการสื่อสารหรือสื่อทางวัฒนธรรม และลักษณะการสื่อสารระหว่างบุคคลกับบุคคล อย่างไรก็ตามการดำรงอยู่ของผ้ายันต์ม้าเสพนาง คงอยู่ได้ด้วยแรงขับเคลื่อนที่เกิดจากความต้องการของผู้บริโภค รวมถึงความเชื่อ ความศรัทธาที่ผู้บริโภคมีต่อผ้ายันต์ม้าเสพนางen_US
Appears in Collections:MASSCOMM: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621831003 จิณห์นิภา มณีกิจ.pdf10.71 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.