Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79056
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิกุล เลียวสิริพงศ์-
dc.contributor.authorวนิดา เขื่อนเพชรen_US
dc.date.accessioned2023-10-15T07:31:17Z-
dc.date.available2023-10-15T07:31:17Z-
dc.date.issued2566-05-24-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79056-
dc.description.abstractThesis Title Using Applied Behavioral Analysis to Reduce Self – Head Banging Behavior of a Child with Deafness and at Risk of Intellectual Disabilities Author Miss. Wanida Keunpech Degree Master of Education (Special Education) Advisor Dr. Pikul Leosiripong ABSTRACT This research is a single subject research in a reversal design (A-B-A-B) model, which aimed to reduce the self- head banging behavior of deaf and at risk of intellectual disabilities child by employing applied behavior analysis to create new alternative communication. The case study was obtained by purposive sampling. An 8-year old boy was diagnosed with deafness by physician and screened by trained teacher and occupational therapists with educational screening form. Research tools were: 1) Alternative communication assessment set for a child with deafness and at risk of intellectual disabilities, 2) Three individual lesson plans which composed of 15 activities and took 30-minute in each session, were: lesson plan 1 to request by body language with real object; lesson plan 2 to request by body language with real object and picture cards and lesson plan 3 to request by real object, picture cards and sign language, 3) A record observation of self-head banging form. The data were analyzed by frequency, percentage, mean and descriptive analysis. The results showed that using applied behavior analysis approach could reduce the self-head banging behavior of a child with deafness and at risk of intellectual disabilities, as follows: Baseline (A1) mean of head-banging behavior was 3, the first treatment session (B1) mean of the head banging behavior was 2.20, the withdrawal session (A2) mean of the head banging behavior was 0.60 and the second treatment session (B2) mean of the head banging behavior was 0.40, which could be interpreted that the numbers by head banging behavior decreased, the case study could use alternative communication in body language, picture cards, and sign language mode.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการตีศีรษะตนเองen_US
dc.titleการใช้การวิเคราะห์พฤติกรรมประยุกต์เพื่อลดพฤติกรรมการตีศีรษะตนเองของเด็กหูหนวกและมีภาวะเสี่ยงความบกพร่องทางสติปัญญาen_US
dc.title.alternativeUsing applied behavioral analysis to reduce self - head banging behavior of a child with deafness and at risk of intellectual disabilitiesen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการศึกษาพิเศษ-
thailis.controlvocab.thashคนพิการ -- การศึกษา-
thailis.controlvocab.thashคนหูหนวก -- การศึกษา-
thailis.controlvocab.thashคนหูหนวก -- วิธีสื่อสาร-
thailis.controlvocab.thashความบกพร่องทางสติปัญญา-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมการช่วยเหลือ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractหัวข้อวิทยานิพนธ์ การใช้การวิเคราะห์พฤติกรรมประยุกต์เพื่อลดพฤติกรรมการตีศีรษะตนเอง ของเด็กหูหนวกและมีภาวะเสี่ยงความบกพร่องทางสติปัญญา ผู้เขียน นางสาววนิดา เขื่อนเพชร ปริญญา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การศึกษาพิเศษ) อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ ดร.พิกุล เลียวสิริพงศ์ บทคัดย่อ การวิจัยนี้ เป็นการวิจัยแบบกลุ่มตัวอย่างเดี่ยว โดยใช้รูปแบบของการจัดกระทำแบบสลับกลับ (Reversal Design หรือ A-B-A-B) มีวัตถุประสงค์เพื่อลดพฤติกรรมการตีศีรษะตนเองของเด็กหูหนวกและมีภาวะเสี่ยงทางสติปัญญาโดยใช้การวิเคราะห์พฤติกรรมประยุกต์และสร้างทางเลือกใหม่ที่ใช้ในการสื่อสาร กรณีศึกษาได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เป็นเพศชาย อายุ 8 ปี ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าหูหนวกและได้รับการคัดกรองจากแบบคัดกรองความพิการทางการศึกษาประเภทบกพร่องทางสติปัญญาเพิ่มเติมโดย ครูผู้ที่ผ่านการอบรมหลักสูตรผู้ดำเนินการคัดกรองคนพิการทางการศึกษาและนักกิจกรรมบำบัด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) ชุดการประเมินสื่อ/วิธีการในการสื่อสารทางเลือกสำหรับเด็กหูหนวกและมีภาวะเสี่ยงทางสติปัญญา 2) แผนการสอนเฉพาะบุคคล จำนวน 3 แผน 15 กิจกรรม กิจกรรมละ 30 นาที ได้แก่ แผนการสอนที่ 1 เรื่อง การบอกความต้องการโดยใช้ภาษาท่าทางร่วมกับสื่อของจริง แผนการสอนที่ 2 เรื่อง การบอกความต้องการโดยใช้ภาษาท่าทางร่วมกับสื่อของจริงและบัตรภาพ แผนการสอนที่ 3 เรื่อง การบอกความต้องการโดยใช้สื่อของจริง บัตรภาพ และภาษามือ 3) แบบบันทึกพฤติกรรมการตีศีรษะตนเอง วิเคราะห์ข้อมูลใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า การใช้วิธีการวิเคราะห์พฤติกรรมประยุกต์สามารถลดพฤติกรรมการตีศีรษะตนเองของเด็กหูหนวกและมีภาวะเสี่ยงทางสติปัญญาตามลำดับ ดังนี้ เส้นฐาน (A1) ค่าเฉลี่ยของพฤติกรรมการตีศีรษะ เท่ากับ 3 ระยะจัดกระทำครั้งที่ 1 (B1) ค่าเฉลี่ยของพฤติกรรมการตีศีรษะ เท่ากับ 2.20 ระยะถอดถอน (A2) ค่าเฉลี่ยของพฤติกรรมการตีศีรษะ เท่ากับ 0.60 ระยะจัดกระทำครั้งที่ 2 (B2) ค่าเฉลี่ยของพฤติกรรมการตีศีรษะ เท่ากับ 0.40 ซึ่งแปลผลได้ว่ากรณีศึกษามีพฤติกรรมการตีศีรษะลดลง และมีทางเลือกใหม่ที่ใช้ในการสื่อสารคือ ใช้ภาษาท่าทาง บัตรภาพ และภาษามือen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
๖๑๐๒๓๒๐๓๘ วนิดา เขื่อนเพชร.pdf12.86 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.