Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79054
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Anupong Wongchai | - |
dc.contributor.advisor | Kannika Saeliw | - |
dc.contributor.author | Alorzude, Emmanuel | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-10-15T07:24:37Z | - |
dc.date.available | 2023-10-15T07:24:37Z | - |
dc.date.issued | 2023-06-16 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79054 | - |
dc.description.abstract | Maize constitutes the primary source of revenue and food for small-scale farmers, and to attain maize self-sufficiency, appropriate production techniques must be employed, coupled with the scaling up of production efficiency in Ghana. This study describes the socio-economic status of maize-producing households and utilizes the three-stage DEA Malmquist model to estimate the technical efficiency and the trend in total factor productivity of maize production. The study examined available data on maize production acquired from the Ministry of Food and Agriculture, along with environmental variables sourced from the Ghana Meteorological Agency. The study covered the period from 2010/11 to 2020/21 cropping seasons and focused on 48 cities in six regions: Northern, Upper East, Upper West, Volta, Eastern, and Central. The results revealed that the Volta region exhibits the highest educational achievement among households engaged in maize production, whereas the Upper West region demonstrates the lowest level of educational attainment. Also, on-farm employment served as the main source of income for the majority in the Northern region. The Northern region demonstrates a thriving agribusiness sector, closely followed by the Eastern region. The results displayed a fairly high level of TE, and environmental factors significantly influence production efficiency. The study revealed that the TE of maize cultivation was 0.752 and 0.853 for the first and third stages, respectively. From the findings, the efficiency scores attained after the adjustments to the input in the third stage of the DEA model were greater than those in the first stage. Also, the results indicated the eastern region had the highest TE score of 0.960 and serves as the finest region for maize cultivation. Overall, there has been a positive trend (>1) in the technical performance of maize cultivation, with a productivity increase of 1.012. The Eastern region achieved the highest efficiency performance and technological progress, as indicated by a TFP value of 1.098. The results of maize growing have policy implications for resource efficiency improvement. Policy suggestions include education about the adoption of drought-tolerant maize varieties and effective diffusion of information on sustainable production practices primarily for farmers living in susceptible areas to enhance their productivity, profitability of maize farming, and improvements in their food security status. To enhance the efficiency of farmers, it is vital for the government to implement streamlined monitoring systems for village savings and loan (VSL) organizations and FBOs since these institutions provide monetary assistance to farmers during the production seasons which improves farmers’ socioeconomic status. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.subject | Technical Efficiency | en_US |
dc.subject | Maize production | en_US |
dc.subject | Ghana | en_US |
dc.subject | Envelopment Analysis | en_US |
dc.subject | Three-Stage Data | en_US |
dc.title | Technical efficiency evaluation of maize production in Ghana using three-stage data envelopment analysis | en_US |
dc.title.alternative | การประเมินประสิทธิภาพทางเทคนิคของการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศกานาโดยวิธีวิเคราะห์การล้อมกรอบข้อมูลสามขั้นตอน | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Corn -- Production | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Forage plants | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Feeds | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Animal feeding | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ถือเป็นแหล่งรายได้หลักและอาหารสำหรับเกษตรกรรายย่อย การใช้ปัจจัยการผลิตที่เพียงพอต่อการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ จึงต้องใช้เทคนิคการผลิตที่เหมาะสมควบคู่ไปกับการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในประเทศกานา งานวิจัยครั้งนี้ได้ทำการศึกษาอธิบายถึงสภาพเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนผู้ผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ โดยใช้แบบจําลอง three-stage DEA Malmquist เพื่อประเมินแนวโน้มของประสิทธิภาพทางเทคนิคและปัจจัยผลผลิตทั้งหมดของการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ซึ่งข้อมูลที่นำมาวิเคราะห์เกี่ยวกับการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ได้รับจากกระทรวงอาหารและการเกษตร รวมถึงปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมที่ได้รับจากสำนักงานอุตุนิยมวิทยาประเทศกานา ข้อมูลที่นำมาศึกษาเป็นข้อมูลการศึกษาครอบคลุมช่วงเวลาตั้งแต่ฤดูกาลเพาะปลูกปี 2010/11 - 2020/21 และมุ่งเน้นไปที่ 48 เมืองใน 6 ภูมิภาค ได้แก่ ภาคเหนือ, ตะวันออกตอนบน, ตะวันตกตอนบน, โวลตา, ตะวันออก, และภาคกลาง ผลการวิจัยพบว่า ภาคโวลตาแสดงผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาสูงสุดในบรรดาครัวเรือนที่ประกอบอาชีพผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ในขณะที่ภาคตะวันตกตอนบนแสดงให้เห็นถึงระดับความสำเร็จทางการศึกษาต่ำสุด ส่วนภาคเหนือมีการจ้างงานในไร่ ซึ่งเป็นแหล่งรายได้หลักของคนส่วนใหญ่ แสดงให้เห็นถึงภาคธุรกิจการเกษตรที่เจริญรุ่งเรือง รองลงมาคือภาคตะวันออกผลการวิจัยส่วนปัจจัยการผลิตพบว่า ประสิทธิภาพทางเทคนิค (TE) ค่อนข้างสูง และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมมีผลต่อประสิทธิภาพการผลิตอย่างมีนัยสําคัญ ค่าประสิทธิภาพทางเทคนิคของการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในระยะที่หนึ่งและสามเท่ากับ 0.752 และ 0.853 ตามลำดับ จากผลการวิจัยพบว่า ค่าคะแนนประสิทธิภาพทางเทคนิคหลังจากมีการปรับปัจจัยการผลิตในขั้นที่สามของแบบจำลอง DEA มีค่ามากกว่าคะแนนในขั้นแรก นอกจากนี้ผลการวิจัยยังแสดงให้เห็นว่าภาคตะวันออกมีค่า ประสิทธิภาพทางเทคนิคเท่ากับ 0.960 เป็นพื้นที่ที่ดีที่สุดสําหรับการเพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ โดยรวมประสิทธิภาพทางเทคนิคของการเพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในภาคตะวันออกมีแนวโน้มในเชิงบวก (>1) และผลผลิตเพิ่มขึ้นเท่ากับ 1.012 ซึ่งมีประสิทธิภาพและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสูงสุด โดยมีค่า TFP เท่ากับ 1.098 ผลของการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีความสําคัญต่อนโยบายในการปรับปรุงประสิทธิภาพของทรัพยากร ดังนั้นจึงมีข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย รวมถึงการศึกษาเกี่ยวกับการใช้พันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ทนแล้ง และมีการเผยแพร่ข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพเกี่ยวกับแนวทางการผลิตที่ยั่งยืนสําหรับเกษตรกรที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่มีความเสี่ยง เพื่อเพิ่มผลผลิตและผลกําไรในการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ไปจนถึงการปรับปรุงความมั่นคงด้านอาหาร และเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้กับเกษตรกร รัฐบาลจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องติดตั้งระบบตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพสำหรับองค์กรออมสินและสินเชื่อในชนบทและองค์กรธนาคารต่างประเทศ | en_US |
Appears in Collections: | AGRO: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
640831028 Emmanuel Alorzude.pdf | 2.53 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.