Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79041
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทรงยศ กิจธรรมเกษร | - |
dc.contributor.author | เสถียร แก้วคำ | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-10-15T04:14:30Z | - |
dc.date.available | 2023-10-15T04:14:30Z | - |
dc.date.issued | 2566-06-30 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79041 | - |
dc.description.abstract | Public transportation is widely recognized as a sustainable mode of travel with minimal environmental impact. Currently, the railway system is widely regarded as the fundamental infrastructure supporting public transportation in Bangkok. The implementation of such a system necessitates its deployment in a database that may not align with the preferences and requirements of Thai users. The primary aim of this study is to discern the attributes of pedestrians and modify the variables pertaining to the flow of pedestrian traffic. The objective is to collect pertinent data to facilitate the design of pedestrian walkways within the confines of a train station. The procedure entails the utilization of Closed-Circuit Television (CCTV) technology for the purpose of capturing video footage within Tao Poon MRT Station. The objective is to create computer vision software utilizing the Python programming language, with the implementation of the YOLO model for the purpose of person detection. The utilization of a fundamental variable correlation model is employed to modify the parameters in response to varying pedestrian traffic flows. We investigate the correlation between fundamental variables associated with pedestrian traffic flow. The parameters are calibrated utilizing data obtained from the study area, which unveiled an average velocity of 82.93 meters per minute for walking. The results indicated that Underwood's model exhibited the greatest level of accuracy and consistency in the study area. The study suggests that the maximum rate at which pedestrians flow is 149 persons per meter per minute. Furthermore, the findings of the study indicate that pedestrians have a maximum attainable walking speed of 86.34 meters per minute. The investigation reveals that the optimal flow rate is attained when pedestrians maintain a walking speed of 32.50 meters per minute. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | public transportation | en_US |
dc.subject | pedestrian traffic flow theory | en_US |
dc.subject | Computer vision | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์คุณลักษณะการเดินบริเวณโถงทางเดินภายในสถานีรถไฟฟ้าเตาปูนจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด | en_US |
dc.title.alternative | Analysis of pedestrian flow characteristics in Tao Poon MRT station walkway from Closed-Circuit Television (CCTV) cameras | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | รถไฟใต้ดิน | - |
thailis.controlvocab.thash | การรถไฟฟ้า | - |
thailis.controlvocab.thash | รถไฟฟ้า | - |
thailis.controlvocab.thash | การขนส่งมวลชน | - |
thailis.controlvocab.thash | ทางเท้า | - |
thailis.controlvocab.thash | โทรทัศน์วงจรปิด | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ระบบขนส่งสาธารณะได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นรูปแบบการเดินทางที่ยั่งยืนและมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย โดยปัจจุบันระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนถือเป็นโครงสร้างพื้นฐานหลักที่ช่วยสนับสนุนการเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะในกรุงเทพมหานคร การออกแบบระบบดังกล่าวยังคงมีการปรับใช้ฐานข้อมูลที่อาจไม่สอดคล้องกับบริบทของผู้ใช้บริการที่เป็นประชาชนคนไทย จุดมุ่งหมายหลักของการศึกษาครั้งนี้คือเพื่อศึกษาค่าคุณลักษณะการเดินและวิเคราะห์ ปรับเทียบค่าพารามิเตอร์ของตัวแปรพื้นฐานการไหลของกระแสจราจรคนเดินเท้า ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการออกแบบสิ่งอำนวยความสะดวกทางเดินภายในสถานีรถไฟฟ้า โดยเก็บข้อมูลในรูปแบบวิดีโอจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) บริเวณทางเดินเท้าภายในสถานีรถไฟฟ้าเตาปูน ทำการพัฒนาซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์วิทัศน์ด้วยภาษา Python ร่วมกับการประมวลผลจากแบบจำลอง YOLO ที่ทำให้สามารถตรวจจับบุคคลในวิดีโอได้ ความสัมพันธ์ตัวแปรพื้นฐานใช้ในการปรับเทียบค่าพารามิเตอร์ของกระแสการจราจรคนเดินเท้าที่ระดับการจราจรต่างๆ จากการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรพื้นฐานของกระแสจราจรคนเดินเท้า ที่ทำการปรับเทียบค่าพารามิเตอร์ด้วยข้อมูลจากพื้นที่การศึกษา พบว่ามีค่าความเร็วการเดินเฉลี่ย 82.93 เมตร/นาที และยังพบว่าแบบจำลองของ Underwood มีแนวโน้มการกระจายตัวและความถูกต้องสอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ศึกษาดีที่สุด โดยผลการศึกษาพบว่าอัตราการไหลของคนเดินเท้ามีค่าได้สูงสุด 149 คน/เมตร/นาที นอกจากนี้ผลการศึกษายังบ่งชี้อีกว่าความเร็วสูงสุดในการเดินของคนเดินเท้ามีค่า 86.34 เมตร/นาที และอัตราการไหลสูงสุดจะเกิดเมื่อระดับความเร็วการเดินของคนเดินเท้าอยู่ที่ 32.50 เมตร/นาที | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610631111 เสถียร แก้วคำ.pdf | 1.82 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.