Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79030
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorKengkij Kitirianglarp-
dc.contributor.advisorAnan Ganjanapan-
dc.contributor.advisorChusak Wittayapak-
dc.contributor.authorSayamon Inthiyoden_US
dc.date.accessioned2023-10-14T07:20:38Z-
dc.date.available2023-10-14T07:20:38Z-
dc.date.issued2023-04-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79030-
dc.description.abstractThis thesis focuses on the process of becoming a new entrepreneur in Chiang Mai under the neoliberal market economy by negotiating with various market actors to transform themselves from workers to startups through an in-depth field study as well as interviews with small to medium sized entrepreneurs. These startups are attempting to produce social and economic capital to sustainably scale up their business size. Additional interviewing of other actors in the startup ecosystem is also provided. This thesis was started as an effort to provide a critical analysis of the neoliberal discourse based on the general economic rationality that markets can freely manipulate and regulate themselves by turning, instead, to an emphasis on an analysis of the negotiating strategies of various market actors rather than focusing solely on the market structure, especially the startup business owners in Chiang Mai. The emphasis will be on clients and organizations that support them as a startup ecosystem, such as incubators for the promotion of contemporary businesses, financial institutions, educational institutions, and online communications in various forms, etc. The research on the above issues began with three questions: 1) What kinds of economic or social value startups can generate? 2) Why each type of startup firm must negotiate for different kinds of capital. 3) How each type of startup firm develops their strategies to transform themselves into a successful and sustainable entrepreneur. By examining various startup strategies and practices to produce economic value through a negotiation process to access various types of capital, this study can provide responds to the questions raised above. Such analysis also provides a way to understand the potential of those startup firms on how they develop their strategies that help them become a successful and sustainable entrepreneur. The important findings can be clearly discussed through the two following arguments: First, negotiation networking is a collaborative approach to market relationship that produces social capital and social invention. Second, cultural strategies based on the value of intimacy help promote business networks in fostering the development of social creativity. The above key findings suggest several significances of this study. The startup ecosystem's function in developing social capital, which improves young entrepreneurs' knowledge, skills, and financial backing, can first be understood. Second, comprehending the many business models employed by various Chiang Mai startups, which have no relation to the neoliberal market discourse. While such discourse solely emphasizes technological innovation and the goal of profit maximization, some startup firms are still working to develop alternative approaches to social innovation. Finally, comprehension of the theoretical relevance that offers new alternative perspectives on studying startups in the future that puts a stronger emphasis on cultural, social, and economic interactions.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleProduction of value and entrepreneurial strategies of Chiang Mai startups under neoliberal market economyen_US
dc.title.alternativeการผลิตมูลค่าและกลยุทธ์การเป็นผู้ประกอบการของสตาร์ทอัพเชียงใหม่ภายใต้เศรษฐกิจตลาดเสรีใหม่en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshEntrepreneurship -- Chiang Mai-
thailis.controlvocab.lcshBusinesspeople -- Chiang Mai-
thailis.controlvocab.lcshFree enterprise-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์นี้มุ่งศึกษากลยุทธ์ของการก่อตัวเพื่อเป็นผู้ประกอบการใหม่ ในจังหวัดเชียงใหม่ ภายใต้ระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรีใหม่ ผ่านกระบวนการผลิตมูลค่า ด้วยวิธีการต่อรองกับผู้กระ ทำ การที่หลากหลายในตลาดสมัยใหม่ เพื่อเปลี่ยนตัวเองจากผู้ใช้แรงงานเป็นสตาร์ทอัพ โดยการศึกษา ภาคสนามอย่างเข้มข้นด้วยการสัมภาษณ์ ผู้ประกอบการขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ที่ก่อตัวขึ้นมาใหม่ ซึ่งกำลังทำงานเพื่อสร้างทุนทางเศรษฐกิจและสังคม ที่สามารถขยายขนาดธุรกิจของตนได้อย่างยั่งยืน รวมทั้งสัมภาษณ์กลุ่มผู้กระทำการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในระบบนิเวศของสตาร์ทอัพ วิทยานิพนธ์นี้เริ่มต้นจากความพยายาม ที่จะเสนอมุมมองเชิงวิพากษ์เกี่ยวกับวาทกรรมเสรีนิยม ใหม่ ซึ่งตั้งอยู่บนหลักเหตุผลทางเศรษฐกิจทั่วไปที่ว่า ตลาดสามารถจัดการและควบคุมตัวเองได้อย่าง อิสระเสรี ด้วยการหันมาเน้นการวิเคราะห์แนวทางการต่อรองของผู้กระทำการต่างๆ ในตลาด แทนที่จะเน้น โครงสร้างตลาดเท่านั้น โดยเฉพาะผู้ประกอบการสตาร์ทอัพในจังหวัดเชียงใหม่ ลูกค้า และสถาบันที่สนับสนุน ในฐานะที่เป็นระบบนิเวศของสตาร์ทอัพ เช่น ศูนย์บ่มเพาะการสร้างเสริมทาง ธุรกิจสมัยใหม่ สถาบันการศึกษา ระบบออนไลน์ในรูปแบบต่างๆ และสถาบันการเงินต่าง ๆ เป็นต้น การวิจัยประเด็นปัญหาต่าง ๆ ข้างต้นเริ่มจากการตั้งคำถาม 3 ข้อคือ 1) สตาร์ทอัพสามารถสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมประเภทใดได้บ้าง 2) ทำไมบริษัทสตาร์ทอัพแต่ละประเภทจึงต้องต่อรองเพื่อเข้าถึงทุนประเภทต่างๆ 3) บริษัทสตาร์ทอัพแต่ละประเภทสามารถพัฒนากลยุทธ์ เพื่อเปลี่ยนตัวเองเป็นผู้ประกอบการ ที่ประสบความสำเร็จและยั่งยืนได้อย่างไร การศึกษานี้สามารถตอบคำถามข้างต้น ด้วยการวิเคราะห์กลยุทธ์และแนวทางการปฏิบัติต่าง ๆ ของสตาร์ทอัพ ในการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ ผ่านกระบวนการต่อรองเพื่อเข้าถึงทุนประเภทต่างๆ เพื่อค้นหาความเข้าใจศักยภาพของบริษัทสตาร์ทอัพเหล่านั้น ในการพัฒนากลยุทธ์ เพื่อเปลี่ยนตัวเองเป็นผู้ประกอบการ ที่ประ สบความสำเร็จและยั่งยืน การค้นพบที่สำคัญสามารถอภิปรายผ่านข้อถกเถียง 2 ข้อต่อไปนี้ ข้อแรก: การสร้าง เครือข่ายการต่อรองเป็นกลยุทธ์ความร่วมมือของความสัมพันธ์ในตลาด เพื่อสร้าง ทุนทางสังคมและนวัตกรรมทางสังคม และ ข้อที่สอง: กลยุทธ์ทางวัฒนธรรมในคุณค่าของความใกล้ชิด ช่วยเสริมสร้างเครือข่ายทางธุรกิจ ในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ทางสังคม การค้นพบที่สำคัญดังกล่าวข้างดันบ่งชี้ถึงนัยสำคัญหลายประการของการศึกษานี้ ประการแรก ความเข้าใจบทบาทของระบบนิเวศของสตาร์ทอัพ ในการเสริมสร้างทุนทางสังคมที่ช่วยเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ และการสนับสนุนทางการเงินของผู้ประ กอบการรายใหม่ ประการที่สอง ความเข้าใจกลยุทธ์ที่ หลากหลายของสตาร์ทอัพประเภทต่าง ๆ ในจังหวัดเชียงใหม่ ที่ไม่ได้ตกอยู่ภายใต้วาทกรรมตลาดเสรี ใหม่ไปทั้งหมด ซึ่งมักจะเน้นเฉพาะนวัตกรรมทางเทคโนโลยีหรือการแสวงหากำไรสูงสุดเท่านั้น แต่ยัง มีสตาร์ทอัพบางส่วนพยายามสร้างทางเลือกใหม่ๆ เชิงนวัตกรรมทางสังคมด้วย และประการที่สาม ความเข้าใจนัยสำคัญทางทฤษฎีที่เสนอทางทางเลือกใหม่ๆ สำหรับการศึกษาสตาร์ทอัพในอนาคต ซึ่งให้ความสำคัญกับความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรม สังคม และเศรษฐกิจการตลาดมากขึ้นen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590455905 ศยามล อินทิยศ.pdf8.18 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.