Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79021
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPimduen Rungsiyakull-
dc.contributor.advisorChaiy Rungsiyakull-
dc.contributor.advisorJarupol Suriyawanakul-
dc.contributor.authorPongsakorn Poovarodomen_US
dc.date.accessioned2023-10-12T00:29:09Z-
dc.date.available2023-10-12T00:29:09Z-
dc.date.issued2023-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79021-
dc.description.abstractThe optimal configuration of a customized implant abutment plays a pivotal role in bone remodeling, and various factors can influence this design. However, assessing the effect of different design parameters on bone remodeling has been a challenge due to the limitations of experimental methods, particularly when considering individual patient differences. This study presents a novel, optimization-focused approach to the design of two-piece zirconia dental implant abutments. Focusing on three key parameters - implant placement depth, abutment taper degree, and the gingival height of the titanium base abutment - we've used time-dependent finite element analysis to optimize these factors. The aim of this optimization strategy is to improve bone remodeling and reduce bone loss that lead to late implant failures by maximizing and equalizing bone density in the peri-implant region. This methodology brings the precision of computational modeling to address patient-specific customization, thus improving the design precision of the abutments. In conclusion, this study underscores the paramount impact of implant placement depth and titanium base gingival height on bone remodeling, compared to the relatively minor influence of the abutment taper degree. The optimal design resulted in an improvement in the cortical bone density trend and lower standard deviation in density. Although initial trends in cancellous bone density under the optimized design were less favorable, they g eventually mirrored the trends observed in the original model. By showcasing how optimization in design parameters can significantly impact bone density and remodeling, these findings serve to enhance the efficiency and effectiveness of dental implant procedures.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleBiomechanics-driven approach to develop an optimal customized dental implant abutment design for implant-supported single crown : A multi-objective optimization finite element analysisen_US
dc.title.alternativeแนวทางที่ขับเคลื่อนด้วยชีวกลศาสตร์เพื่อพัฒนาการออกแบบหลักยึดครอบฟันซี่เดี่ยวเฉพาะบุคคลบนรากเทียมที่เหมาะที่สุดโดยวิธีการหาค่าเหมาะที่สุดแบบพหุปัจจัยด้วยวิธีการไฟไนต์เอลิเมนต์en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshCrowns (Dentistry)-
thailis.controlvocab.lcshDental pulp cavity-
thailis.controlvocab.lcshRoot canal therapy-
thailis.controlvocab.lcshTitanium-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractลักษณะรูปร่างของหลักยึดที่เหมาะสม ในการบูณะครอบฟันบนรากฟันเทียมซี่เดี่ยวได้มีบทบาทสำคัญในการปรับรูปร่างกระดูกบริเวณรอบๆรากฟันเทียม และมีปัจจัยหลายประการที่มีอิทธิพลต่อการออกแบบหลักยึดนี้ อย่างไรก็ตามการประเมินผลกระทบของตัวแปรการออกแบบที่แตกต่างกันที่มีต่อกระบวนการปรับรูปร่างกระดูกนั้นเป็นความท้าทาย เนื่องจากข้อจำกัดของวิธีการทดลอง เฉพาะอย่างยิ่งเมื่อพิจารณาความแตกต่างของผู้ป่วยแต่ละราย ดังนั้น ในการศึกษาครั้งนี้ ได้นำเสนอวิธีการใหม่ที่มุ่งเน้นที่การหาค่าที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการออกแบบหลักยึด ลักษณะสองชิ้นประกอบด้วยเซอร์โคเนียและฐานไทเทเนียม ในหลักยึดชนิดเฉพาะบุคคล โดยมุ่งเน้นที่สามปัจจัยการออกแบบหลักยึดที่สำคัญคือ ความลึกของการปลูกรากเทียม, มุมความผายของหลักยึด, และความสูงส่วนเหงือกของหลักยึดฐานไทเทเนียม งานวิจัยนี้ได้ประยุกต์ใช้ระเบียบวิธีไฟไนท์เอเลเมนต์ที่ขึ้นต่อเวลาเพื่อหาค่าที่เหมาะสมที่สุดของปัจจัยการออกแบบเหล่านี้ จุดประสงค์ของกระบวนการหาค่าเหมาะที่สุดนี้คือการปรับปรุงกระบวนการปรับรูปร่างกระดูกให้ดีขึ้น และลดการละลายของกระดูกที่จะส่งผลให้เกิดการล้มเหลวของรากเทียมในภายหลังจากการใช้งาน โดยการออกแบบหลักยึดที่เหมาะสมที่สุด ควรทำให้เกิดความหนาแน่นของกระดูกบริเวณรอบๆ รากเทียมมีค่าสูงที่สุดและมีค่าเท่าๆกันโดยทั่ว วิธีการนี้สามารถนำความแม่นยำของการโมเดลการคำนวณมาใช้ในการปรับแต่งเฉพาะผู้ป่วย ทำให้เพิ่มความแม่นยำในการออกแบบหลักยึดที่เหมาะสม ผลลัพท์การกระบวนการหาค่าที่เหมาะสมที่สุด ได้รูปร่างการออกแบบที่เหมาะสมที่สุดของแบบหลักยึด ได้แสดงให้เห็นถึงการส่งผลให้เกิดแนวโน้มการปรับรูปร่างความหนาแน่นของกระดูกทึบที่มากที่สุด และการลดเบี่ยงเบนมาตรฐานในความหนาแน่นของกระดูกทึบรอบๆรากเทียมที่น้อยที่สุด แม้ว่าแนวโน้มเริ่มต้นของความหนาแน่นของกระดูกฟองน้ำซึ่งเป็นกระดูกภายในภายใต้การออกแบบที่ดีที่สุดจะไม่ใช่คำตอบที่สูงที่สุด แต่ในแนวโน้มสุดท้ายของการเพิ่มขึ้นความหนาแน่นกระดูกฟองน้ำก็สะท้อนถึงแนวโน้มที่สังเกตได้ใกล้เคียงกับรูปแบบหลักยึดชนิดควบคุม จากการศึกษาครั้งนี้ ได้แสดงให้เห็นว่าการหาค่าที่ดีที่สุดในพารามิเตอร์การออกแบบสามารถมีผลกระทบอย่างมากต่อความหนาแน่นของกระดูกและการปรับรูปร่างของกระดูก การศึกษานี้ย้ำถึงผลกระทบที่สำคัญของความลึกในการปลูกรากเทียม และความสูงของหลักยึดฐานไทเทเนียม ในกระบวนการปรับรูปร่างกระดูก เมื่อเทียบกับมุมความผายของหลักยึดที่มีอิทธิพลต่อความหนาแน่นกระดูกค่อนข้างน้อย จากข้อสรุปเหล่านี้ทำให้สามารถส่งเสริม และเพิ่มความเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาทางทันตกรรมรากเทียม ทำให้มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลมากขึ้นen_US
Appears in Collections:DENT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630955903-PONGSAKORN POOVARODOM.pdf1.7 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.