Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79012
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนฉัตร์ฑพงศ์ แก้วสมพงษ์-
dc.contributor.advisorภารวี มณีจักร-
dc.contributor.advisorวรัทยา ชินกรรม-
dc.contributor.authorพันธ์ณุวัฒน์ สุวรรณรัตน์en_US
dc.date.accessioned2023-10-11T10:40:23Z-
dc.date.available2023-10-11T10:40:23Z-
dc.date.issued2566-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79012-
dc.description.abstractThis study investigated the relationship between economic growth and income inequality in a global perspective based on Kuznets hypothesis. The kink regression model is used to analyze non-linear relationships. From the study process, it was found that Luxembourg is the country with the highest economic growth. And South Africa is the country with the highest income inequality. The study found that 23 countries were successful in reducing income inequality in terms of economic growth under the Kuznets hypothesis It was also found that the investment factor and access to financial institutions There was a positive influence on the likelihood of success in reducing income inequality according to the Kuznets hypothesis. Likewise, commercial, and educational factors had a negative influence on the likelihood of success in reducing income inequality according to Kuznets' hypothesis.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความเหลื่อมล้ำทางรายได้en_US
dc.subjectการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจen_US
dc.subjectสมมติฐานของคุซเน็ตส์en_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจกับความเหลื่อมล้ำทางรายได้: มุมมองระดับโลกen_US
dc.title.alternativeThe Relationship between economics growth and income inequality: global perspectiveen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการพัฒนาเศรษฐกิจ-
thailis.controlvocab.thashความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ-
thailis.controlvocab.thashการกระจายรายได้-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์เล่มนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและความเหลื่อมล้ำทางรายได้ในมุมมองระดับโลกโดยสมมติฐานของคุซเน็ตส์ ใช้แบบจำลองการถดถอยแบบหักงอในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ที่ไม่เป็นเชิงเส้น จากกระบวนการศึกษาพบว่าประเทศลักเซมเบิร์กเป็นประเทศที่มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจมากที่สุด และประเทศแอฟริกาใต้เป็นประเทศที่มีความเหลื่อมล้ำทางรายได้มากที่สุด จากผลการศึกษาพบว่ามี 23 ประเทศที่ประสบความสำเร็จในการลดความเหลื่อมล้ำทางรายได้เมื่อมีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจตามสมมติฐานของคุซเน็ตส์ นอกจากนี้ยังพบว่าปัจจัยด้านการลงทุน และด้านการเข้าถึงสถาบันทางการเงิน มีความอิทธิพลเชิงบวกกับโอกาสประสบความสำเร็จในการลดความเหลื่อมล้ำทางรายได้ตามสมมติฐานของคุซเน็ตส์ ในขณะที่ปัจจัยด้านการค้าและด้านการศึกษามีความอิทธิพลเชิงลบกับโอกาสประสบความสำเร็จในการลดความเหลื่อมล้ำทางรายได้ตามสมมติฐานของคุซเน็ตส์en_US
Appears in Collections:ECON: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.