Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79007
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิชญลักษณ์ พิชญกุล-
dc.contributor.authorพลากร สุรินทร์ต๊ะen_US
dc.date.accessioned2023-10-11T10:30:18Z-
dc.date.available2023-10-11T10:30:18Z-
dc.date.issued2566-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79007-
dc.description.abstractThis study aims to explore the path to success of a coffee entrepreneur in Huay Nam Khun village, Chiang Rai province. The entrepreneur in this study is Miss Nanthana Chanthawee, who runs a coffee business in Huay Nam Khun village. Data was collected through non-participatory observation and in-depth interviews, drawing on the concept of business success as the ability to create sustainable value and added value to products, as well as receiving awards and sharing knowledge to help the community generate more income. The study also taken into account 10 attributes of an entrepreneur including interpersonal skills, self-confidence, honesty, basic knowledge and experience in business, hard work, emotional intelligence, vision, thrift, continuous employee development and training, and belief in luck. The results of the study indicated that the entrepreneur had developed the quality and added value of coffee in Huay Nam Khun village, Chiang Rai province, through processing to the point where it received awards, resulting in the coffee becoming well-known and creating additional income for the village's residents and coffee growers. Additionally, the entrepreneur shared knowledge about coffee cultivation, care, and processing, and told stories through the coffee products. The entrepreneur also demonstrated her commitment to social responsibility by contributing to the community and the environment. Overall, the study found that the entrepreneur had achieved success by creating value for the community, as well as continuously enhancing herself and her employees’ abilities. The authors have provided recommendations to the entrepreneurs for their consideration in order to further develop the business as follows: Firstly, it is recommended to establish a network and define a business model that involves farmers and villagers in the community, allowing them to feel engaged in the product development process. This can be accomplished through exchanging experiences and knowledge among community members to enhance future business development. Secondly, entrepreneurs should actively seek continuous learning, especially in the field of online marketing, to promote community awareness. This will help the community become more recognized. Lastly, it is advised to welcome interested individuals to visit the village and involve local residents in sharing knowledge about coffee and its various processes. This serves as another opportunity to generate income for the Huay Nam Khun village, Chiang Rai province, particularly in terms of agricultural tourism.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectเส้นทางสู่ความสำเร็จen_US
dc.subjectธุรกิจกาแฟen_US
dc.subjectผู้ประกอบการธุรกิจen_US
dc.subjectหมู่บ้านห้วยน้ำกืนen_US
dc.subjectจังหวัดเชียงรายen_US
dc.subjectPath to Successen_US
dc.subjectCoffeeen_US
dc.subjectEntrepreneuren_US
dc.subjectHuay Nam Khun Villageen_US
dc.subjectChiang Raien_US
dc.titleเส้นทางสู่ความสำเร็จของผู้ประกอบการธุรกิจกาแฟในหมู่บ้านห้วยน้ำกืน จังหวัดเชียงรายen_US
dc.title.alternativePath to success of a coffee entrepreneur in Huay Nam Khun Village, Chiang Rai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashหมู่บ้านห้วยน้ำกืน (เชียงราย)-
thailis.controlvocab.thashการจัดการธุรกิจชุมชน -- เชียงราย-
thailis.controlvocab.thashธุรกิจชุมชน -- เชียงราย-
thailis.controlvocab.thashผู้ประกอบการ -- เชียงราย-
thailis.controlvocab.thashกาแฟ -- เชียงราย-
thailis.controlvocab.thashผลิตภัณฑ์กาแฟ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเส้นทางสู่ความสำเร็จของผู้ประกอบการธุรกิจกาแฟในหมู่บ้านห้วยน้ำกืน จังหวัดเชียงราย ผู้ประกอบการคือ คุณนันทนา จันทวี ซึ่งเป็นผู้ประกอบการธุรกิจกาแฟในหมู่บ้านห้วยน้ำกืน ตำบลแม่เจดีย์ อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย โดยเก็บข้อมูลจากการสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วมและการใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึก โดยอ้างอิงจากแนวคิดเกี่ยวกับความสำเร็จของธุรกิจที่ชี้วัดความสำเร็จทางธุรกิจจากความสามารถในการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์อย่างความยั่งยืน การได้รับรางวัล การแบ่งปันความรู้ในการช่วยเหลือชุมชน การสร้างรายได้ให้กับชุมชนและใช้แนวคิดคุณสมบัติของผู้ประกอบการ 10 ประการ มาประกอบในการศึกษา ได้แก่ ความมีมนุษย์สัมพันธ์ ความเชื่อมั่นในตนเอง ความซื่อสัตย์ การมีความรู้พื้นฐานและประสบการณ์ในธุรกิจที่ทำ ความขยันทุ่มเทให้กับธุรกิจ การมีวุฒิภาวะทางอารมณ์ การมีวิสัยทัศน์ การประหยัด การพัฒนาและฝึกอบรมพนักงานอย่างต่อเนื่อง และการมีความเชื่อเรื่องโชค ผลการศึกษาพบว่าผู้ประกอบการได้พัฒนาคุณภาพและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับกาแฟของหมู่บ้านห้วยน้ำกืน จังหวัดเชียงราย ผ่านการแปรรูปจนทำให้ได้รับรางวัล ส่งผลให้กาแฟของหมู่บ้านห้วยน้ำกืนเป็นที่รู้จักและสามารถสร้างรายได้ให้กับชาวบ้านหรือเกษตรกรผู้ปลูกกาแฟในหมู่บ้านเพิ่มขึ้น อีกทั้งผู้ประกอบการได้แบ่งปันความรู้เกี่ยวกับการปลูกกาแฟ การดูแลรักษาต้นกาแฟ รวมไปถึงการแปรรูปกาแฟและยังมีการเล่าเรื่องผ่านผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับประสบการณ์และแรงบันดาลใจของผู้ประกอบการที่มีต่อกาแฟของหมู่บ้านห้วยน้ำกืน จังหวัดเชียงราย ซึ่งทำให้ผู้บริโภคมีความสนใจและมองเห็นความแตกต่างของผลิตภัณฑ์กาแฟในหมู่บ้านห้วยน้ำกืน จังหวัดเชียงราย ซึ่งส่งผลให้เกษตรกรผู้ปลูกกาแฟในหมู่บ้านมีรายได้ที่เพิ่มขึ้นและมีความยั่งยืนในการประกอบธุรกิจ นอกจากนี้ผลการศึกษาคุณสมบัติผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จ พบว่า ผู้ประกอบการมีการสร้างความสัมพันธ์กับเกษตรกรในหมู่บ้าน มีการวางเป้าหมายให้กาแฟของหมู่บ้านเป็นที่รู้จักและสร้างรายได้เพิ่มขึ้นภายใต้ความยั่งยืน รวมไปถึงความซื่อสัตย์ในการรับซื้อผลผลิตจากเกษตรกรและจัดส่งผลผลิตกาแฟที่มีคุณภาพให้กับลูกค้า เป็นต้น ผู้ศึกษาได้ให้ข้อเสนอแนะให้กับผู้ประกอบการไว้พิจารณาเพื่อพัฒนาธุรกิจให้ดียิ่งขึ้นดังต่อไปนี้ ประการแรก ควรมีการสร้างเครือข่ายและกำหนดรูปแบบการจัดธุรกิจให้เกษตรกรและชาวบ้านในหมู่บ้านเกิดความรู้สึกมีส่วนร่วมในกระบวนการสร้างผลิตภัณฑ์ ผ่านการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และองค์ความรู้ของคนในชุมชนเพื่อนำมาพัฒนาธุรกิจต่อไปในอนาคต ประการที่สอง ผู้ประกอบการควรแสวงหาความรู้เพิ่มเติมอย่างต่อเนื่อง อาทิเช่น ในด้านการตลาดผ่านช่องทางออนไลน์ เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ชุมชนเป็นที่รู้จัก ประการที่สาม ควรเปิดให้บุคคลที่สนใจเข้ามาเยี่ยมชมหมู่บ้านและให้ชาวบ้านเข้ามามีส่วนร่วมในการให้ความรู้เกี่ยวกับกาแฟในกระบวนการต่างๆ ซึ่งเป็นอีกหนึ่งช่องทางในการสร้างรายได้ให้กับหมู่บ้านห้วยน้ำกืน จังหวัดเชียงราย ในด้านการท่องเที่ยวเชิงเกษตรen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
641532092-PHARAKORN SURINTA.pdf22.76 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.