Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79002
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เดชา ศุภพิทยาภรณ์ | - |
dc.contributor.author | นันทกา ปินตาอุ่น | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-10-10T10:49:10Z | - |
dc.date.available | 2023-10-10T10:49:10Z | - |
dc.date.issued | 2023-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79002 | - |
dc.description.abstract | This research was aimed to study the effect of Just-in-Time Teaching (JiTT) on students’ conceptual understanding and problem-solving abilities of current electricity among 42 upper secondary students at a school in Chiang Mai in the 2nd semester of the 2022 academic year. The JiTT approach, which primarily based on the theory of conceptual change, has adopted online survey to investigate students’ preconception about the subject matter, prior to the instruction, and use those data to correct or change students’ conceptual understanding instantly or just in time. The research tools consist of 1) a total of 3 JiTT lesson plans, covering the topic of (1) Electrical Energy Source and Electric Current, (2) Resistance - Ohm's law and Simple Electrical Circuit, and (3) Battery and Electric Power, which content and teaching method validity were evaluated by experts in the subject matter, and 2) a concept test which consists of 4 groups of conceptual questions, concept of (1) electric current, (2) resistance and ohm’s law, (3) battery and electric energy, (4) electric circuit, and 3) a problem-solving ability test which mainly focuses on applying conceptual understanding to solve sophisticated electric circuit problems. Both tests were validated by experts in the field and tried out with similar context group of students. Some questions were revised, and the analysis provide acceptable results. The teaching implementation lasted for 6 weeks (15 hours). The pre and post concept test analysis result indicates that students’ conceptual understanding increases and lies in the medium gain (Class average normalized gain <g> = 0.32), and the post problem-solving ability test result show that most of students (69.05%) pass the 70% scores baseline as expected. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การสอนแบบจัสท์-อิน-ไทม์เพื่อพัฒนามโนทัศน์และความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางฟิสิกส์ เรื่อง ไฟฟ้ากระแส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย | en_US |
dc.title.alternative | Just-in-Time teaching to enhance the conceptual understanding and physics problem solving ability on the topic of electrical current among upper secondary students | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ฟิสิกส์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | - |
thailis.controlvocab.thash | ไฟฟ้ากระแส | - |
thailis.controlvocab.thash | วงจรไฟฟ้า | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการสอนแบบจัสท์-อิน-ไทม์ ที่มีต่อมโนทัศน์และความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางฟิสิกส์ของนักเรียนเกี่ยวกับไฟฟ้ากระแส ซึ่งเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายจำนวน 42 คน ของโรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 การสอนแบบจัสท์-อิน-ไทม์ในการวิจัยนี้อิงกับแนวคิดของทฤษฎีการปรับเปลี่ยนมโนทัศน์ โดยนำเอาการสำรวจออนไลน์มาช่วยในการศึกษามโนทัศน์ก่อนเรียนและนำข้อมูลเหล่านั้นมาใช้ในการแก้ไขหรือปรับเปลี่ยนมโนทัศน์ของนักเรียนอย่างทันทีทันใดหรือทันเวลา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการสอนแบบจัสท์-อิน-ไทม์ จำนวน 3 แผน ครอบคลุมหัวข้อ (1) แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า (2) ความต้านทาน-กฏของโอห์มและวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย และ (3) แบตเตอรีและกำลังไฟฟ้า ซึ่งแผนการจัดผ่านการประเมินความตรงเชิงเนื้อหาและรูปแบบการสอนโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 2) แบบวัดมโนทัศน์ ซึ่งแบ่งเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่มโนทัศน์เกี่ยวกับ (1) กระแสไฟฟ้า (2) ความต้านทานไฟฟ้าและกฎของโอห์ม (3) แบตเตอรีและพลังงานไฟฟ้า และ (4) วงจรไฟฟ้า และ 3) แบบวัดความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหา ซึ่งเน้นการนำความรู้หรือมโนทัศน์ไปใช้ในการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า ซึ่งแบบวัดทั้งสองได้ผ่านการประเมินของผู้ทรงคุณวุฒิและทดลองใช้กับนักเรียนที่มีบริบทคล้ายกัน แบบวัดบางข้อได้รับการปรับปรุงจนให้ผลการวิเคราะห์ที่เป็นที่ยอมรับได้ การจัดการเรียนการสอนใช้เวลา 6 สัปดาห์ (15 คาบ) การวิเคราะห์ข้อมูลจากผลการวัดมโนทัศน์ก่อนและหลังการสอน พบว่ามโนทัศน์ของนักเรียนเพิ่มขึ้นในระดับปานกลาง (Class average normalized gain <g> = 0.32) และจากการวิเคราะห์ผลการวัดความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาหลังการสอนพบว่า นักเรียนส่วนใหญ่ (ร้อยละ 69.05) มีคะแนนเฉลี่ยความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางฟิสิกส์ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็มตามที่กำหนด | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
นันทกา ปินตาอุ่น 600232016.pdf | 6.79 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.