Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78979
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพื่อนใจ รัตตากร-
dc.contributor.advisorสุภาพร ชินชัย-
dc.contributor.authorเพชรรัตน์ ใจยงค์en_US
dc.date.accessioned2023-10-09T15:47:54Z-
dc.date.available2023-10-09T15:47:54Z-
dc.date.issued2566-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78979-
dc.description.abstractThis study aimed to develop a speech and language training manual for parents of children with cleft palate ages 0-3 years old and to study the effectiveness of the manual. The research process consisted of 4 phases: 1) Gather information on stimulating language development. 2) Development of the manual and satisfaction assessment form and tested content validity by 5 experts. It was found that the manual and satisfaction assessment form have the content validity index for the entire set at 0.87 and 0.92, respectively. 3) Testing the effectiveness of the manual. A total of 16 children with cleft palate between 0-3 years were studied (8 control groups who did not receive the manual and 8 experimental groups who received the manual) for a period of 3 months and and 4) Data analysis by Mann-Whitney U Test found that the scores of language development before participated in the program were not statistically different in both groups (median difference = 0.25, 95% CI = - 5.00 to 4.00, p = 0.71) but the score after participating in the program between both group was statistically different (median difference = 8.00, 95% CI = 3.50 to 16.00, p = 0.03). However, the score between pre-post participation in the program of both groups was statistically different when tested with the Wilcoxon Sign Rank Test (control group: median difference = 11.25, 95% CI = 8.50 to 16.00, p = 0.01 and experimental group: median difference = 20.75, 95% CI = 16.50 to -26.00, p = 0.01). When assessing language use between children and parents while playing independently by video recording for 30 minutes, it was found that the experimental group increased the number of vocabularies, length of utterances, and a greater response to parental communication than the control group. It showed that the manual helps promote the experimental group's speech and language development faster than the control group. In addition, the results of the satisfaction assessment of parents who received the manual found that the overall satisfaction level was at the highest level (x = 4.74, SD = 0.15).en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectEarly interventionen_US
dc.subjectCleft palateen_US
dc.subjectSpeech and Language delayeden_US
dc.subjectSpeech therapyen_US
dc.titleการพัฒนาคู่มือการฝึกพัฒนาการทางภาษาและการพูดสำหรับผู้ปกครองในเด็กที่มีภาวะเพดานโหว่อายุ 0-3 ปีen_US
dc.title.alternativeThe Development of parental guide book for speech and language in children with cleft palate ages 0-3en_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.thashเพดานโหว่-
thailis.controlvocab.thashพัฒนาการของเด็ก-
thailis.controlvocab.thashเด็ก -- การดูแล-
thailis.controlvocab.thashผู้ปกครองกับเด็ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาคู่มือการฝึกพัฒนาการทางภาษาและการพูดสำหรับผู้ปกครองในเด็กที่มีภาวะเพดานโหว่ อายุ 0-3 ปี และศึกษาประสิทธิภาพของคู่มือฯ ซึ่งมีขั้นตอนการดำเนินการวิจัย 4 ระยะ คือ 1) รวบรวบข้อมูลวิธีการให้การกระตุ้นพัฒนาการทางภาษา 2) การพัฒนาคู่มือฯ และแบบประเมินความพึงพอใจ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน พบว่า คู่มือฯ และแบบประเมินความพึงพอใจมีดัชนีความตรงตามเนื้อหาทั้งชุดอยู่ที่ 0.87 และ 0.92 ตามลำดับ 3) การทดสอบประสิทธิภาพคู่มือฯ โดยทำการศึกษาในเด็กที่มีภาวะเพดานโหว่ จำนวนทั้งหมด 16 ราย (กลุ่มควบคุมที่ไม่ได้รับคู่มือฯ จำนวน 8 ราย และกลุ่มทดลองที่ได้รับคู่มือฯ จำนวน 8 ราย) ที่มีอายุระหว่าง 0-3 ปี เป็นเวลา 3 เดือน และ 4) การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ Mann-Whitney U Test พบว่า ก่อนการทดลองกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองมีคะแนนพัฒนาการทางภาษาและการพูดไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (median difference = 0.25, 95 % confident Interval = - 5.00 ถึง 4.00, p = 0.71) และเมื่อเปรียบเทียบคะแนนรวมพัฒนาการทางภาษาและการพูดภายหลังเข้าร่วมงานวิจัยระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองด้วยสถิติ Mann-Whitney U Test พบว่า มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (median difference = 8.00, 95 % confident Interval = 3.50 ถึง 16.00 p = 0.03) อย่างไรก็ตามทั้งกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองมีความแตกต่างกันของคะแนนพัฒนาการทางภาษาและการพูดก่อนและหลังเข้าร่วมงานวิจัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 เมื่อทดสอบด้วยสถิติ Wilcoxon Sign Rank Test (กลุ่มควบคุม median difference = 11.25, 95 % confident Interval = 8.50 ถึง 16.00, p = 0.01 และ กลุ่มทดลอง median difference = 20.75, 95 % confident Interval = 16.50 ถึง 26.00, p = 0.01) เมื่อทำการประเมินการใช้ภาษาระหว่างเด็กกับ ผู้ปกครองขณะเล่นอย่างอิสระทั้งกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองผ่านการบันทึกวิดีโอเป็นเวลา 30 นาที พบว่า กลุ่มทดลองมีความเปลี่ยนแปลงในการใช้ภาษาด้านจำนวนคลังคำศัพท์ที่เพิ่มขึ้น มีความยาวของถ้อยความมากขึ้นและมีการตอบสนองต่อการสื่อสารของผู้ปกครองมากกว่ากลุ่มควบคุม แสดงให้เห็นว่าคู่มือฯ ช่วยส่งเสริมให้พัฒนาการทางภาษาและการพูดของกลุ่มทดลองมีความก้าวหน้าเร็วกว่ากลุ่มควบคุมที่ไม่ได้รับคู่มือฯ นอกจากนี้ผลจากการประเมินความพึงพอใจของผู้ปกครองที่ได้รับคู่มือฯ พบว่า ระดับความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.74, SD = 0.15 )en_US
Appears in Collections:AMS: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601131012-Pechcharat Jaiyong ลายน้ำ.pdf3.8 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.