Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78974
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโยธิน ฉิมอุปละ-
dc.contributor.advisorอดิศักดิ์ ไสยสุข-
dc.contributor.advisorชัญชณา ธนชยานนท์-
dc.contributor.authorสายธาร ลิ่มสกุลen_US
dc.date.accessioned2023-10-09T15:24:03Z-
dc.date.available2023-10-09T15:24:03Z-
dc.date.issued2566-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78974-
dc.description.abstractThe treatment of azo-dye wastewater using titanium dioxide (TiO2) nanoparticles on porous carbon media was studied in this research. The porous carbon media was prepared using resorcinol and formaldehyde with the sol – gel process. TiO2 nanoparticles were synthesized by the precipitation method of titanium isopropoxide (TTIP) and calcination at 700°C (CTi700), 800°C (CTi800), and 900°C (CTi900) for 2 h. The morphologies of TiO2 nanoparticles on porous carbon were investigated using a scanning electron microscope (SEM) and transmission electron microscope (TEM). It was found that the titanium dioxide particles were nano-sized and uniformly distributed on the spherical porous carbon surface. The crystal structures of titanium dioxide (TiO2) nanoparticles on porous carbon media were investigated using X – ray Diffractometer (XRD). The result indicated that the CTi900 sample is mainly rutile crystal structures. Whereas CTi700 and CTi800, nano TiO2 exhibited mixed crystal structures between the minor anatase and primary rutile phases. Surface area and porosity analyzer (BET) results showed that CTi900 has the highest specific surface area and pore volume. The as-prepared TiO2 nanoparticles on porous carbon media have studied an application for wastewater treatment by using both photocatalytic and absorption properties of the materials. The experiment revealed that CTi900 could rapidly absorb the reactive black 5 dye. At 24 h, the percentage removal of CTi700, CTi800, and CTi900 were 2.3%, 7.3%, and 100%. After that, the photocatalytic process has experimented, and it was found that CTi900 had the highest photodegradation efficiency at 240 min. The percentage degradation of CTi900 was 34%. Reusable CTi900 particles were experimented with for degrading the reactive black 5 dye by UVC irradiation, it was found that CTi900 can be reused, and within 180 min, the dye degradation efficiency was 25 – 35 %.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectอนุภาคนาโนไทเทเนียมไดออกไซด์en_US
dc.titleอนุภาคนาโนไทเทเนียมไดออกไซด์บนตัวกลางคาร์บอนพรุนที่ใช้ซ้ำได้สำหรับการบำบัดน้ำเสียที่มีสีย้อมเอโซen_US
dc.title.alternativeReusable Titanium Dioxide nanoparticles on porous carbon media for Azo – dye wastewater treatmenten_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashไทเทเนียมไดออกไซด์-
thailis.controlvocab.thashอนุภาคนาโน-
thailis.controlvocab.thashสีย้อมเอโซ-
thailis.controlvocab.thashการกำจัดน้ำเสีย-
thailis.controlvocab.thashน้ำเสีย -- การบำบัด-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้ศึกษาการสังเคราะห์อนุภาคนาโนไทเทเนียมไดออกไซด์บนตัวกลางคาร์บอนรูพรุนเพื่อบำบัดน้ำเสียจากสีย้อมเอโซ โดยสังเคราะห์อนุภาคคาร์บอนรูพรุนจากสารตั้งต้นรีโซซินอลกับฟอร์มัลดีไฮด์ผ่านกระบวนการโซล – เจล พอลิเมอไรเซชันและสังเคราะห์อนุภาคไทเทเนียม ไดออกไซด์จากไทเทเนียมเตตระไอโซโพรพรอกไซด์ผ่านกระบวนการตกตะกอน จากนั้นนำไปเผาภายใต้บรรยากาศคาร์บอนไดออกไซด์ที่อุณหภูมิ 700 องศาเซลเซียส (CTi700), 800 องศาเซลเซียส (CTi800) และ 900 องศาเซลเซียส (CTi900) เป็นเวลา 2 ชั่วโมง และศึกษาลักษณะสัณฐานโดยใช้ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (Scanning electron microscope, SEM) และกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน (Transmission electron microscope, TEM) พบว่าอนุภาคไทเทเนียมไดออกไซด์มีขนาดเล็กระดับนาโนและกระจายตัวอย่างสม่ำเสมอบนพื้นผิวคาร์บอนรูพรุนทรงกลม เมื่อศึกษาโครงสร้างผลึกของอนุภาคนาโนไทเทเนียมไดออกไซด์บนตัวกลางคาร์บอนรูพรุนด้วยเทคนิคการเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์ (X-ray diffraction spectroscopy, XRD) พบว่าอนุภาค CTi900 มีไทเทเนียมไดออกไซด์ที่มีโครงสร้างผลึกแบบรูไทล์ ในขณะที่ CTi700 และ CTi800 มีโครงสร้างผลึกแบบแอนาเทสผสมรูไทล์โดยมีรูไทล์เป็นโครงสร้างผลึกหลัก จากนั้นศึกษาวัสดุด้วยเครื่องวัดพื้นที่ผิวและความเป็นรูพรุนของตัวอย่าง (Surface area and porosity analyzer, BET) พบว่าอนุภาค CTi900 มีพื้นที่ผิวจำเพาะและปริมาตรรูพรุนมากที่สุด เมื่อนำอนุภาคที่สังเคราะห์มาสลายสีย้อมรีแอคทีฟ แบล็ค 5 (Reactive Black 5) ด้วยกระบวนการดูดซับและการเร่งปฏิกิริยาเชิงแสง พบว่าอนุภาค CTi900 สามารถดูดซับได้มากที่สุดที่เวลา 24 ชั่วโมง อนุภาค CTi700, CTi800 และ CTi900 มีร้อยละการดูดซับสีย้อมเท่ากับ 2.3, 7.3 และ 100 ตามลำดับ จากนั้นทดสอบการเร่งปฏิกิริยาเชิงแสงภายใต้รังสียูวีซีพบว่าที่เวลา 240 นาที อนุภาค CTi900 สามารถสลายสีย้อมได้สูงสุดเท่ากับ ร้อยละ 34 และเมื่อนำอนุภาค CTi900 มาทดสอบการใช้ซ้ำพบว่าสามารถใช้ซ้ำได้และสามารถสลาย สีย้อมได้เท่ากับร้อยละ 25 – 35 ภายในเวลา 180 นาทีen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Saitharn Limsakul 640531021.pdf4.27 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.