Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78969
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพื่อนใจ รัตตากร-
dc.contributor.advisorสุภาพร ชินชัย-
dc.contributor.authorนิชา กฤปานันท์en_US
dc.date.accessioned2023-10-09T03:58:05Z-
dc.date.available2023-10-09T03:58:05Z-
dc.date.issued2019-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78969-
dc.description.abstractThe purpose of this study is to translate the Apraxia of Speech Rating Scale into Thai language, and to evaluate the psychometric properties of the Apraxia of Speech Rating Scale Thai version (ASRS-TH). Validity was examined through sensitivity and specificity, and reliability was examined through intra-rater reliability and inter-rater reliability. The participants were comprised of 30 adults with neurological speech or language disorders from cerebrovascular accident, traumatic brain injury, or neurodegenerative disease; age from 26 to 84 years. Results from this study showed sensitivity of the ASRS-TH was 88.5% and specificity of the ASRS-TH was 86.3% with a cut-off at 20. Reliability was computed through intraclass correlation (ICC). Intra-rater ICCs were 0.991 and 0.972, and inter-rater ICC was 0.903 for total ASRS-TH score. These results suggested that the ASRSTH is a reliable and valid instrument to describe the presence and severity of characteristics of apraxia of speech. The ASRS-TH could be used as a clinical tool and subject description in apraxia of speech research.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleคุณสมบัติการวัดทางจิตวิทยาของมาตรวัด ภาวะเสียการรู้ปฏิบัติด้านการพูดฉบับภาษาไทยen_US
dc.title.alternativePsychometric properties of the apraxia of speech rating scale Thai versionen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการวัดทางจิตวิทยา-
thailis.controlvocab.thashการทดสอบทางจิตวิทยา-
thailis.controlvocab.thashการสื่อทางภาษาพูด-
thailis.controlvocab.thashความสามารถทางภาษา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อแปลมาตรวัด Apraxia of Speech Rating Scale จากต้นฉบับภาษาอังกฤษให้เป็นมาตรวัดภาวะเสียการรู้ปฏิบัติด้านการพูดฉบับภาษาไทย และเพื่อตรวจสอบคุณสมบัติการวัดทางจิตวิทยาของเครื่องมือ คือตรวจสอบความตรงด้วยวิธีการหาความไวและความจำเพาะ และตรวจสอบความเที่ยงด้วยวิธีการตรวจสอบความเที่ยงภายใน ผู้ประเมินและตรวจสอบความเที่ยงระหว่างผู้ประเมิน กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยที่มีความผิดปกติด้านภาษาและ/หรือการพูดเนื่องมาจากระบบประสาท ที่มีประวัติโรคหลอดเลือดสมอง การบาดเจ็บทางสมอง หรือการเสื่อมของระบบประสาท อายุ 26 ถึง 84 ปี จำนวน 30 คน ผลการศึกษาพบว่ามาตรวัดภาวะเสียการรู้ปฏิบัติด้านการพูดฉบับภาษาไทย มีความไวร้อยละ 88.5 ความจำเพาะร้อยละ 86.3 ที่จุดตัด 20 คะแนน ความเที่ยงภายในผู้ประเมินด้านคะแนนรวมมีสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ภายในชั้นเท่ากับ 0.991 และ 0.972 ความเที่ยงระหว่างผู้ประเมินค้านคะแนนรวมมีสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ภายในชั้นเท่ากับ 0.903 หมายความว่า มาตรวัดภาวะเสียการรู้ปฏิบัติด้านการพูดฉบับภาษาไทย มีความตรงและความเที่ยงของ เครื่องมืออยู่ในระดับสูง สามารถนำเครื่องมือไปใช้ทางคลินิกและการวิจัยในการวินิจฉัยและระบุ ระดับความรุนแรงของลักษณะของภาวะเสียการรู้ปฏิบัติด้านการพูดen_US
Appears in Collections:AMS: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601131010-นิชา กฤปานันท์.pdf20.01 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.