Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78941
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นิยตา กาวีวงศ์ | - |
dc.contributor.author | โสภีธิดา คํามา | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-10-05T18:16:02Z | - |
dc.date.available | 2023-10-05T18:16:02Z | - |
dc.date.issued | 2565-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78941 | - |
dc.description.abstract | The objective of this study is to examine graduate's and employer's expectation and satisfaction towards the undergraduate program in Geology, Faculty of Science, Chiang Mai University. Two sets of questionnaires were separately used to collect data from graduates and employers. The first questionnaire was generated according to Internal educational quality assurance, which is comprised of 6 components: (1) Standard Control, (2) Graduates, (3) Students, (4) Instructors, (5) Curriculum for Learning and Teaching, and Learner Evaluation, and (6) Learning Supports, and was collected from 206 graduates who graduated in the academic year between 2015- 2020. The second questionnaire was set to evaluate employer's expectation and satisfaction from 86 employers under the framework of Thai Qualifications Framework for Higher Education with the expected learning outcomes of students in 5 domains: (1) Ethical and Moral Development (2) Knowledge (3) Analytical and Cognitive Skills (4) Interpersonal Skills and Responsibility (5) Numerical Analysis, Communication and Information Technology. Then, the data was analyzed by descriptive statistics including frequency, percentage, mean and standard deviation and used the Importance-Performance Analysis (IPA) scheme in order to compare graduate's and employer's expectation and satisfaction toward the undergraduate program in Geology, Faculty of Science, Chiang Mai University. The results of graduate's expectation and satisfaction showed that the largest number of respondents were graduates who graduated in the academic year 2015 (22.33%). Private sector employee was the majority of graduate's occupational status (29.61%). Around four in ten of the respondents have been working or studying in higher education for 2-3 years (39.81%). Most of the respondents held a Bachelor's degree as the highest education level (88.35%) and earned a salary in the range of 15,000-18,000 baht (30.10%). The results also indicate that there were a slightly higher number of male graduates (54.85%) to female graduates in this survey. More than half of respondents (50.97%) graduated with an accumulated grade point average (GPAX) of 3.01-3.50 in the Bachelor of Science, Geology Program. According to International educational quality assurance containing 6 components, the surveys of the graduates' expectation and satisfaction towards the undergraduate program in Geology were analyzed. The level of expectation and the level of satisfaction were mostly very expected and satisfied in six components. The results of using the Importance-Performance Analysis (IPA) scheme to compare the level of expectation and satisfaction of graduates resulted in the intersection of (3.85,4.33). Learning Supports component was classified in quadrant A which indicates that the graduates did not receive proper responses for educational supports. Instructors and Graduates component was classified in quadrant B indicating that it was both highly expected and very satisfactory for graduates. The component of Curriculum for Learning and Teaching, and Learner Evaluation was classified in quadrant C which means that these factors were not significantly important and can be postponed for improvement. Lastly, Standard Control component was classified in quadrant D and showed that this factor was overconcerned. The results of employers' expectation and satisfaction showed that most respondents were public sector employees (55.80%). Respondents were mostly in the position of supervisor (69.77%). In terms of work experience, the largest group of respondents has been working for 3-5 years (36.05%). Moreover, most employers held a Bachelor's degree as the highest education level (55.81%) and earned a salary in the range of 20,000-40,000 baht (67.44%). The male employers were accounted for almost three third of respondents (74.42%) and the group of age under 30 was dominant (43.02%). Most of the respondents worked or have been working with graduates who graduated in the academic year 2016 (32.56%). More than half of the employers worked or have been working with the graduates for 2-3 years (53.49%). These employed graduates mostly graduated with GPAX of 3.01-3.50 in the Bachelor of Science, Geology program (40.70%). In addition, the largest number of employed graduates held a Bachelor's degree as the highest education level (82.56%). The employers' expectation and satisfaction towards the undergraduate program in Geology were determined according to Thai Qualifications Framework for Higher Education with the expected learning outcomes of students in 5 domains. The level of expectation and the level of satisfaction were mostly very expected and satisfied in five domains. The results of using the Importance-Performance Analysis (IPA) scheme to compare the level of expectation and satisfaction of employers led to the intersection of (3.94,4.22). The component of Analytical and Cognitive Skills was classified in quadrant A indicating that the employers did not satisfy with the level of analytical and cognitive skills of the graduates. Ethical and Moral Development and Knowledge component was classified in quadrant B as the graduates had a satisfactory level of ethical and academic skills. Numerical Analysis, Communication and Information Technology and Interpersonal Skills and Responsibility components were both classified in quadrant C which implies that these factors were not significantly important from employers' perspective and can be postponed for improvement. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ความพึงพอใจของบัณฑิตและผู้ใช้บัณฑิตต่อหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาธรณีวิทยาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Satisfaction of graduates and employers towards undergraduate program in Geology, Faculty of Science, Chiang Mai University | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
thailis.controlvocab.thash | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สาขาวิชาธรณีวิทยา | - |
thailis.controlvocab.thash | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ -- นักศึกษาบัณฑิต | - |
thailis.controlvocab.thash | สถาบันอุดมศึกษา -- งานบัณฑิตศึกษา | - |
thailis.controlvocab.thash | ความพอใจของผู้ใช้บริการ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาแบบอิสระฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคาดหวังและความพึงพอใจของ บัณฑิตและผู้ใช้บัณฑิตต่อหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โคยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล แบ่งออกเป็น แบบสอบถามความคาคหวังและความพึงพอใจจากบัณฑิตหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ธรณีวิทยา ซึ่งสำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2558-2563 จำนวน 206 ราย ตามขอบเขตเนื้อหา องค์ประกอบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร จำนวน 6 ด้าน ได้แก่ (1) ด้านการ กำกับตามเกณฑ์มาตรฐาน (2) ด้านนักศึกษา (3) ด้านสิ่งสนับสนุนการเรียน (4) ด้านหลักสูตร การ เรียนการสอนและการประเมินผู้เรียน (5) ด้านอาจารย์ และ (6) ด้านบัณฑิต และแบบสอบถามความ คาดหวังและความพึงพอใจจากผู้ใช้บัณฑิตหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา ซึ่ง สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2558-2563 จำนวน 86 ราย ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ ซึ่งกำหนดคุณลักษณะของบัณฑิตตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง จำนวน 5 ด้าน ได้แก่ (1) ด้าน คุณธรรมจริยธรรม (2) ด้านความรู้ (3) ด้านทักษะทางปัญญา (4) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและความรับผิดชอบ และ (3) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ และนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วยความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน และทำการเปรียบเทียบระดับความคาดหวังและระดับ ความพึงพอใจโคยใช้เครื่องมือวิเคราะห์ความสำคัญและผลการปฏิบัติงาน (Importance-Performance Analysis: IPA) ซึ่งนำเสนอผลการศึกษาในรูปแบบของกราฟและอธิบายความหมายของผลลัพธ์ผ่าน การจำแนกเป็นจตุภาค จากการศึกษาความคาดหวังและความพึงพอใจของบัณฑิตหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามเป็นบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาในปีพุทธศักราช 2558 มากที่สุด โดยผู้ดอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเป็นพนักงานเอกชนและสังกัดใน หน่วยงานภาคเอกชน ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีระยะเวลาปฏิบัติงานหรือระยะเวลาดำเนิน กิจการหรือระยะเวลาศึกษาต่อ จำนวน 2-3 ปี ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาสูงสุด คือ ระดับปริญญาตรี และส่วนใหญ่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนเท่ากับ 15,001-18,000 บาท ผู้ตอบ แบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย และผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีผลการเรียนเฉลี่ยรวมของ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาธรณีวิทยา อยู่ที่ 3.01-3.50 เมื่อพิจารณาตามขอบเขตเนื้อหาองค์ประกอบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับ หลักสูตร ในภาพรวม จำนวน 6 ด้าน พบว่าแต่ละด้านส่วนใหญ่มีระดับความคาคหวังที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ใน ระดับมากที่สุด และมีระดับความพึงพอใจที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อเปรียบเทียบระดับความคาดหวังและระดับความพึงพอใจของบัณฑิตต่อหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา โดยใช้เครื่องมือวิเคราะห์ความสำคัญละผลการปฏิบัติงานที่ จุดตัด (3.85,4.33) พบว่าด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนจัดอยู่ในจตุภาคที่ 1 เป็นด้านที่บัณฑิตยังไม่ได้รับ การตอบสนองอย่างเพียงพอ ด้านอาจารย์และด้านบัณฑิตจัดอยู่ในจตุภาคที่ 2 เป็นด้านที่บัณฑิตมีความ คาดหวังสูงและ ได้รับการตอบสนองเป็นอย่างดี ด้านนักศึกษาและด้านหลักสูตร การเรียนการสอน และการประเมินผลจัดอยู่ในจตุภาคที่ 3 เป็นด้านที่บัณฑิตให้ความคาดหวังในระดับที่ต่ำ สามารถเลื่อน การปรับปรุงออกไปก่อนได้ และด้านการกำกับเกณฑ์มาตรฐานจัดอยู่ในจตุภาคที่ 4 เป็นด้านที่ถูกให้ ความสำคัญมากเกินไปและบัณฑิตได้รับการตอบสนองเกินความคาดหวัง จากการศึกษาความคาคหวังและความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นผู้ใช้บัณฑิตทางค้านธรณีวิทยาที่สังกัดใน หน่วยงานเอกชน โดยผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีตำแหน่งงานเป็นหัวหน้างาน ผู้ตอบ แบบสอบถามส่วนใหญ่มีระยะเวลาปฏิบัติงาน 3-5 ปี ส่วนใหญ่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,001-40,000 บาท และผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ส่วนใหญ่มีอายุต่ำกว่า 30 ปี และส่วนใหญ่มีระดับ การศึกษาสูงสุด คือ ระดับปริญญาตรี โดยผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ได้ร่วมงานกับบัณฑิต หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาธรณีวิทยา ที่สำเร็จการศึกษาในปีพุทธศักราช 2559 ซึ่งส่วนใหญ่ ผู้ตอบแบบสอบถามมีระยะเวลาปฏิบัติงานร่วมงานกับบัณฑิตหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขา ธรณีวิทยา 2-3 ปี ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ร่วมงานกับบัณฑิตหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขา ธรณีวิทยา ที่มีผลการเรียนเฉลี่ยเท่ากับ 3.01-3.50 และส่วนใหญ่ร่วมงานกับบัณฑิตหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาธรณีวิทยา ที่มีระดับการศึกษาสูงสุด คือ ปริญญาตรี เมื่อพิจารณาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุคมศึกษาแห่งชาติ ซึ่งกำหนดคุณลักษณะของ บัณฑิตตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง จำนวน 5 ด้าน พบว่าแต่ละด้านส่วนใหญ่มีระดับความคาดหวังที่มี ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด และมีระดับความพึงพอใจที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อเปรียบเทียบระดับความคาดหวังและระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตต่อหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา โดยทำการวิเคราะห์เครื่องมือวิเคราะห์ความสำคัญและผล การปฏิบัติงานที่จุดตัด (3.94,4.22) พบว่าด้านทักษะทางปัญญา จัดอยู่ในจตุภาคที่ I เป็นด้านที่ผู้ใช้ บัณฑิตยังไม่ได้รับการตอบสนองอย่างเพียงพอ ด้านคุณธรรม จริยธรรมและด้านความรู้ จัดอยู่ในจตุ ภาคที่ 2 เป็นด้านที่ผู้ใช้บัณฑิตได้รับการตอบสนองเป็นอย่างดี และด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ รับผิดชอบ จัดอยู่ในจตุภาคที่ 3 เป็นด้านที่ผู้ใช้บัณฑิตให้ความสำคัญในระดับต่ำ สามารถเลื่อนการ ปรับปรุงออกไปก่อนได้ | en_US |
Appears in Collections: | BA: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
621532143 โสภีธิดา คำมา.pdf | 7.15 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.