Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78938
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรพิณ สันติธีรากุล-
dc.contributor.authorกาญจนา จันต๊ะมงคลen_US
dc.date.accessioned2023-10-05T18:07:04Z-
dc.date.available2023-10-05T18:07:04Z-
dc.date.issued2565-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78938-
dc.description.abstractThe objectives of this independent study were to study happiness levels, to compare the happiness and to study the factors affecting happiness at work of Generation X and Generation Y operating employees in private manufacturing businesses in Chiang Mai Province. The data from this study was collected from 200 people, divided into 100 people of Generation X or those who were born between 1965 and 1977 and 100 people of Generation Y or those who were born between 1978 and 1998. The tool to collect the data was questionnaire and the results were statistically analyzed by SPSS program: frequency, percentage, mean, Independent Sample t-Test and Multiple Regression Analysis. The results of the study showed that the average overall opinion levels on happiness at work of Generation X and Generation Y were at the high level (x̅ =3.83 and x̅ =3.81). Generation X employees ranked the 11 domains in the following order: recognition (x̅ =4.05), achievement (x̅ =4.02), the work itself (x̅ =3.98), salary (x̅ =3.94), responsibility (x̅ =3.90), working conditions (x̅ =3.79), job security (x̅ =3.72), interpersonal relationship with superiors(x̅ =3.71), company policy and administration (x̅ =3.71), interpersonal relationship with subordinates (x̅ =3.50) and possibility for growth (x̅ =2.51). Generation Y employees ranked the 11 domains in the following order. achievement (x̅ =4.16), recognition(x̅ =4.09),the work itself(x̅ =4.04), salary(x̅ =3.94), responsibility (x̅ =3.92), company policy and administration (x̅ =3.77), job security (x̅ =3.74), interpersonal relationship with subordinates (x̅ =3.72), interpersonal relationship with superiors (x̅ =3.70), working conditions (x̅ =3.67) and possibility for growth (x̅ =2.64). From the comparison between the overall happiness at work of Generation X and Generation Y, it was found that there was no significant difference between the overall happiness of Generation X and Generation Y (Sig.= 0.812). From Multiple Regression Analysis to statistically study the relationship between the factors affecting happiness at work and the overall happiness on the work of Generation X and Generation Y operating employees, it was found that the factors affecting the overall happiness at work of Generation X consisted of 2 domains: working conditions (Beta = 0.300) ranked the highest effect on overall happiness at work, and interpersonal relationship with subordinates (Beta = 0.171) ranked the second. The forecast ability was at 48.6% (Adjusted R Square = 0.486). It was also found that the factors affecting the overall happiness at work of Generation Y was job security (Beta = 0.336) with the forecast ability of 35.6% (Adjusted R Square = 0.356).en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสุขในการทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการในธุรกิจผลิตเจเนอเรชันเอ็กซ์และเจเนอเรชันวายในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeHappiness at work of generation X and generation Y operating employees in private manufacturing businesses in Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashความสุข-
thailis.controlvocab.thashคุณภาพชีวิตการทำงาน-
thailis.controlvocab.thashความพอใจในการทำงาน-
thailis.controlvocab.thashเจนเนอเรชันเอ็กซ์-
thailis.controlvocab.thashเจนเนอเรชันวาย-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับความสุขในการทำงาน ศึกษาปัจจัยที่ ส่งผลต่อความสุขในการทำงาน และเปรียบเทียบความสุขในการทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการ ในธุรกิจผลิตเจเนอเรชันเอ็กซ์และเจเนอเรชันวายในจังหวัดเชียงใหม่ โดยทำการเก็บข้อมูลจาก กลุ่มตัวอย่างพนักงานระดับปฏิบัติการในธุรกิจผลิตจำนวนทั้งหมด 200 ราย แบ่งเป็นเจเนอเรชันเอ็กซ์ หรือผู้ที่เกิดระหว่างพ.ศ. 2508-2520 จำนวน 100 ราย และเจเนอเรชันวายหรือผู้ที่เกิดระหว่าง พ.ศ. 2521-2541 จำนวน 100 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลการศึกษาครั้งนี้เป็น แบบสอบถาม ( Questionnaire) และทำการวิเคราะห์ผลการศึกษาด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป SPSS โดย คำนวณหาความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) การวิเคราะห์ Independent Sample t-Test และสมการถดถอยพหุคุณ (Multiple Regression Analysis) ผลการศึกษาพบว่าค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขในการทำงาน โดยรวม ของพนักงานเจเนอเรชันเอ็กซ์และเจเนอเรชันวายอยู่ในระดับมาก (x̅=3.83 และ 3.81 ตามลำดับ) โดยมีค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขในการทำงานทั้ง 11 ด้านของพนักงาน เจเนอเรชันเอ็กซ์ ได้แก่ ด้านการได้รับการยอมรับนับถือ (x̅=4.05) ด้านความสำเร็จในงาน (x̅=4.02) ด้านลักษณะของงานที่ปฏิบัติ (x̅=3.98)ด้านเงินเดือนและผลประโยชน์เกื้อกูล (x̅=3.94) ด้านความรับผิดชอบ (x̅=3.90) ด้านสภาพการทำงาน (x̅=3.79) ด้านความมั่นคงปลอดภัยใน การทำงาน (x̅=3.72) ด้านความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา (x̅=3.71) ด้านนโยบายและการบริหาร (x̅=3.71) ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน (x̅=3.50) และด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งการงาน (x̅=2.51) ตามลำดับ ส่วนค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยที่ ส่งผลต่อความสุขในการทำงาน ทั้ง 11 ด้านของพนักงานเจเนอเรชันวาย ได้แก่ ด้านความสำเร็จในงาน (x̅=4.16) ด้านการได้รับ การยอมรับนับถือ (x̅=4.09) ค้านลักษณะของงานที่ปฏิบัติ (x̅ =4.04) ด้านเงินเดือนและผลประ โยชน์ เกื้อกูล (x̅ =394) ด้านความรับผิดชอบ (x̅ =3.92) ด้านนโบายและการบริหาร (x̅ =3.77) ด้านความมั่นคงปลอดภัยในการทำงาน (x̅ =3.74) ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน (x̅ =3.72) ด้านความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา (x̅ =3.70) ด้านสภาพการทำงาน (x̅ =3.67) และด้านความก้าวหน้า ในตำแหน่งการงาน (x̅ =2.64) ตามลำดับ จากศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างความสุขในการทำงานโดยรวมของเจเนอเรชัน เอ็กซ์และเจเนอเรชันวาย พบว่าความสุขในการทำงาน โดยรวมของพนักงานระดับปฏิบัติการในธุรกิจ ผลิตเจเนอเรชันเอ็กซ์และเจเนอเรชันวายในจังหวัดเชียงใหม่ ไม่แตกต่างกัน (Sig.= 0.812) จากการวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคุณ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ส่งผลต่อ ความสุขในการทำงานทั้ง 11 ด้านที่มีผลต่อความสุขโดยรวมในการทำงานของพนักงานเจเนอเรชัน เอ็กซ์และเจเนอเรชันวายพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขโดยรวมของเจเนอเรชันเอ็กซ์ ประกอบด้วย ปัจจัย 2 ด้าน ได้แก่ ด้านสภาพการทำงาน (Beta = 0.300 มีผลต่อความสุข โดยรวมในการทำงานสูงสุด และรองลงมา คือ ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน (Beta = 0.171) ตามลำคับ โดยมีความสามารถ ในการพยากรณ์ร้อยละ 48.6% (Adjusted R Square = 0.486) ส่วนปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขโดยรวม ของเจเนอเรชันวาย ประกอบด้วยปัจจัย 1 ด้าน ได้แก่ ปัจจัยด้านความมั่นคงปลอดภัยในการทำงาน (Beta = 0.336 ) โดยมีความสามารถในการพยากรณ์ร้อยละ 35.6% (Adjusted R Square = 0.356)en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621532077 กาญจนา จันต๊ะมงคล.pdf1.38 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.