Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78932
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Suchitporn Lersilp | - |
dc.contributor.advisor | Supawadee Putthinoi | - |
dc.contributor.advisor | Hsu, Hsiu-Yun | - |
dc.contributor.author | Kewalin Panyo | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-10-05T11:00:45Z | - |
dc.date.available | 2023-10-05T11:00:45Z | - |
dc.date.issued | 2022-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78932 | - |
dc.description.abstract | The occupational therapy (OT) service has not only operated in hospital-based settings, but also been extended to school-based ones. School-based occupational therapists (SBOTs) work as health professionals in an educational team in special education schools. During transition periods, they provide a transition service, and encourage students with disabilities to meet their goals and become potential learners. The purposes of this research were to study a situation of OT service during transition periods for students with disabilities in special education schools and to develop the decision support system (DSS) to provide OT service during transition periods for students with disabilities. This study was based on the Research and Development (R&D) design with mixed qualitative and quantitative research methods. There were two phases of this study. In terms of Phase I, the participants comprised six SBOTs in special education schools in Chiang Mai province, Thailand. The research instrument consisted of semi-structured interviews with open-ended questions. Thematic analysis was conducted in steps of data analysis. The results found ten categories in four themes as follows. The first theme of roles and involvement of occupational therapists (OTs) had two categories: formal roles and involvement, and informal collaboration. The second theme of OT service for transition had two categories: types of intervention programs and timing in providing the OT service. The third theme of barriers against providing the transition service had four categories: informal school policies on the transition service, OT workloads, differences in the background and perspectives of school professionals, and parental involvement. The fourth theme of opinions to decrease the barriers had two categories: explicit educational policies and use of technology as tools for involvement and collaboration. In terms of Phase II, there were 2 main steps. The first step was exploring the needs of SBOTs regarding DSS development. Six SBOTs from Phase I were recruited for their opinions by in-depth interview with semi-structured questions. Probe questions were open-ended and focused on the topic of the DSS providing OT service for students with disabilities during transition periods. Content analysis was conducted in steps of data analysis. Results found 3 types of the current support system such as a specific educational technology (SET) program, free cloud-based storage service, and manual report form. The web-based DSS was designed by needs that could be explained regarding content and function. In terms of content, 2 main parts of the DSS included personal and OT service information. In terms of functions, 3 main functions were syncing information from the SET program, making decisions in OT intervention programs and sharing OT service information. In the second step, the participants comprised 18 SBOTs and 18 teachers, who worked together in providing educational programs for students with disabilities at 14 special education schools in Thailand. They tried out the web-based DSS for 3 cases within 8 weeks. The System Usability Scale (SUS) was used for investigating efficiency of the web-based DSS. The result revealed that the SUS score of the web-based DSS was 72.98, which indicated good usability. These findings provided SBOTs and school professionals with fundamental information for encouraging students with disabilities to become potential learners during transition periods. Moreover, the web-based DSS could be a collaborative tool, which supports sharing student information between SBOTs and teachers, in order to plan Individualized Transition Planning (ITP) in the school context. Besides, the web-based DSS was meant to support decision-making of the SBOTs in providing OT intervention for students with disabilities during transition periods. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Development of decision support system to provide occupational therapy service during transition periods for students with disabilities | en_US |
dc.title.alternative | การพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อการให้บริการทางกิจกรรมบำบัดในระยะเปลี่ยนผ่านสำหรับนักเรียนที่มีความพิการ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Decision support systems | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Occupational therapy | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Occupational therapy services | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Students with disabilities -- Services for | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Students with disabilities | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การให้บริการทางกิจกรรมบำบัดไม่เพียงแต่ดำเนินการในสถานพยาบาลเท่านั้น แต่ยังขยาย ไปสู่สถานศึกษาต่าง ๆ นักกิจกรรมบำบัดในสถานศึกษาเป็นหนึ่งในบุคลากรทางการศึกษา โดยทำ หน้าที่เป็นนักวิชาชีพด้านสุขภาพ ซึ่งในระยะเปลี่ยนผ่านนักกิจกรรมบำบัดในสถานศึกษายังทำหน้าที่ ให้บริการเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนที่มีความพิการ ได้รับบริการที่สอดคล้องกับเป้าหมายและสามารถ พัฒนาไปสู่ศักยภาพสูงสุดในฐานะผู้เรียนภายใต้ข้อจำกัดค้านความพิการ การศึกษาครั้งนี้มี วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสถานการณ์การให้บริการทางกิจกรรมบำบัดในระยะเปลี่ยนผ่านสำหรับนักเรียนที่ มีความพิการ และเพื่อพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อการให้บริการทางกิจกรรมบำบัดใน ระยะเปลี่ยนผ่านสำหรับนักเรียนที่มีความพิการ โดยมีรูปแบบการวิจัยและพัฒนาที่ใช้ระเบียบวิธีวิจัย เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ประกอบด้วย 2 ระยะ ระยะที่ 1 ผู้ให้ข้อมูลเป็นนักกิจกรรมบำบัดใน สถานศึกษาเฉพาะความพิการในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 6 คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยเป็นการ สัมภาษณ์เชิงลึกด้วยข้อคำถามปลายเปีดแบบกึ่งมี โครงสร้าง จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์ แก่นสาระ ผลการวิจัย สามารถสรุปได้ 4 สาระหลัก และ 10 กลุ่มหัวข้อสรุป ได้แก่ 1) บทบาทและการ มีส่วนร่วมของนักกิจกรรมบำบัด ซึ่งประกอบด้วย 2 กลุ่มหัวข้อสรุป คือ บทบาทและการมีส่วนร่วม อย่างเป็นทางการ และการทำงานร่วมกันอย่างไม่เป็นทางการ 2) การให้บริการทางกิจกรรมสำหรับ การเปลี่ยนผ่าน ซึ่งประกอบด้วย 2 กลุ่มหัวข้อสรุป คือ รูปแบบของโปรแกรมการให้บริการทาง กิจกรรมบำบัด และระยะเวลาในการให้บริการทางกิจกรรมบำบัด 3) อุปสรรดต่อการให้บริการเปลี่ยน ผ่าน ซึ่งประกอบด้วย 4 กลุ่มหัวข้อสรุป คือ นโยบายด้านการให้บริการในระยะเปลี่ยนผ่านที่ไม่เป็น ทางการ ภาระงานของนักกิจกรรมบำบัดในสถานศึกษา ความแตกต่างของภูมิหลังและมุมมองของสห วิชาชีพในโรงเรียน และความร่วมมือของพ่อแม่ 4 ความคิดเห็นต่อการลดอุปสรรค ซึ่งประกอบด้วย 2 กลุ่มหัวข้อสรุป คือ นโยบายทางการศึกษาที่ชัดเจน และการใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือเพื่อการมีส่วน ร่วมและการทำงานร่วมกัน ระยะที่ 2 ประกอบด้วย 2 ขั้นตอนหลัก โดยขั้นตอนที่ 1 เป็นขั้นตอน การศึกษาความต้องการของนักกิจกรรมบำบัดในสถานศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาระบบสนับสนุนการ ตัดสินใจ ผู้เข้าร่วมการวิจัย ประกอบด้วย นักกิจกรรมบำบัดจากระยะที่ ! จำนวน 6 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยเป็นการสัมภาษณ์เชิงลึกที่มีข้อคำถามปลายเปิดแบบกึ่งมีโครงสร้างในประเด็นเกี่ยวกับ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อการให้บริการทางกิจกรรมบำบัดในระยะเปลี่ยนผ่าน หลังจากนั้นจึง ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษา พบว่า ระบบสนับสนุนการให้บริการ ที่นักกิจกรรมบำบัดใช้ในปัจจุบันอยู่ใน 3 รูปแบบ ได้แก่ ระบบสารสนเทศการศึกษาพิเศษและ การศึกษาสงเคราะห์ ระบบจัดเก็บข้อมูลบนคลาวด์โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และแบบรายงานสรุปการ ให้บริการ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจได้พัฒนาขึ้นตามความต้องการของนักกิจกรรมบำบัดทั้งใน ประเด็นของเนื้อหาและฟังก์ชัน ในค้านของเนื้อหา ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ ข้อมูลส่วนบุคคล และ ข้อมูลการบริการทางกิจกรรมบำบัด ในด้านของฟังก์ชัน ประกอบด้วย 3 ฟังก์ซัน ได้แก่ การเชื่อมโยง ข้อมูลจากระบบสารสนเทศการศึกษาพิเศษและการศึกษาสงเคราะห์ การสนับสนุนการตัดสินใจ สำหรับการบำบัดรักษาทางกิจกรรมบำบัด และการแลกเปลี่ยนข้อมูลการบริการทางกิจกรรมบำบัด สำหรับในขั้นตอนที่ 2 มีผู้เข้าร่วมการวิจัย เป็นนักกิจกรรมบำบัด จำนวน 18 คน และครู จำนวน 18 คน ที่ทำงานร่วมกันในสถานศึกษาเฉพาะทางความพิการในประเทศไทย จำนวน 14 แห่ง ซึ่งครูและ นักกิจกรรมบำบัดได้มีการทคลองใช้ระบบการสนับสนุนการตัดสินใจผ่านข้อมูลจำลองของนักเรียนที่ มีความพิการ จำนวน 3 คน ภายในระยะเวลา 8 สัปดาห์ หลังจากนั้นจึงทำการประเมินประสิทธิภาพ ของโปรแกรม ผลการวิจัย พบว่า มีคะแนนของ System Usability Scale เท่ากับ 72.98 ซึ่งอยู่ในระดับที่ มีประสิทธิภาพดีในการใช้งาน ผลการวิจัยในครั้งนี้สามารถเป็นข้อมูลเบื้องต้นสำหรับนักกิจกรรมบำบัดและนักวิชาชีพใน สถานศึกษาในการส่งเสริมนักเรียนที่มีความพิการให้มีคุณลักษณะของผู้เรียนที่มีศักยภาพในระยะ เปลี่ยนผ่านได้ นอกจากนี้ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่พัฒนาขึ้นจากการวิจัยครั้งนี้ ยังสามารถเป็น เครื่องมือในการส่งเสริมการทำงานร่วมกันระหว่างนักกิจกรรมบำบัดและครู เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลของ นักเรียนที่มีความพิการในการเตรียมความพร้อมและ จัดทำแผนให้บริการเปลี่ยนผ่านเฉพาะบุคคลใน สถานศึกษา อีกทั้งยังช่วยในการส่งเสริมการตัดสินใจของนักกิจกรรมบำบัดในการให้บริการทาง กิจกรรมบำบัดในระยะเปลี่ยนผ่านสำหรับนักเรียนที่มีความพิการได้อีกด้วย | en_US |
Appears in Collections: | AMS: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
621155902 เกวลิน ปัญโญ.pdf | 12.36 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.