Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78929
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภัทรณัฏฐ์ บัณฑิตคุณานนต์-
dc.contributor.advisorสิทธิชัย วนจันทรรักษ์-
dc.contributor.authorพราวนภา นาทองคำen_US
dc.date.accessioned2023-10-05T10:53:01Z-
dc.date.available2023-10-05T10:53:01Z-
dc.date.issued2565-01-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78929-
dc.description.abstractObjective: To investigate tooth sensitivity caused by intensity light irradiation from two intraoral scanners and a light curing unit. Materials and methods: Forty-five healthy volunteers with good oral hygiene were recruited. They were equally classified into three groups; A=normal cervical area, B=cervical cavity without sensitivity, and C= cervical cavity with sensitivity group by using cold test (4 ± 1 °C) and NRS pain assessment. Two thermocouple probes were attached to the cervical area of the experimental tooth and control tooth with composite resin. Sensitivity response was monitored using participant grip force. The digital oscilloscope was used to record surface temperature and pain response during intraoral scanners or a light-curing unit irradiation. The high-intensity light from the light-curing unit and intraoral scanner was randomly applied on the test surface for 20s. The data were compared statistical with two-way repeated measures ANOVA and Pearson's correlation. Results: The mean ± SD of surface temperature increased by 22.98 ± 3.20 °C and 5.86 ± 1.46 °C during irradiation of LCU and two Scanners, consecutively. More number of participants responded to LCU irradiation and reported higher pain response (5.10 ± 1.96) than two Scanner with shorter reaction time (2.10s to 18.70s). The participants from the cavity with sensitivity group had the shortest response time. There was positive correlation between surface temperature and pain response (R2 = 0.232; p<0.01). Conclusion: The heat from high-intensity light from LCU and Scanners can cause sensitivity in some individuals. The higher light intensity would raise more surface temperature and cause more sensitivity response.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectเสียวฟันen_US
dc.titleการสังเกตอาการเสียวฟันทางคลินิกที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิขณะใช้เครื่องสแกนภายในช่องปากและเครื่องฉายแสงen_US
dc.title.alternativeThe Clinical observation of dentine sensitivity caused by temperature change during using intraoral scanners and light curing uniten_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashฟัน -- การดูแลและสุขวิทยา-
thailis.controlvocab.thashทันตานามัย-
thailis.controlvocab.thashทันตวิทยา-
thailis.controlvocab.thashฟัน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของอาการเสียวฟันที่มีสาเหตุมาจากความเข้มของแสงจากเครื่อง สแกนเนอร์ในปากสองชนิดและเครื่องฉายแสง วัสดุและวิธีการ: อาสาสมัครจำนวน 45 คน ที่มีสุขภาพแข็งแรงร่วมกับมือนามัยช่องปากดี โดย อาสาสมัครถูกจัดกลุ่มออกเป็น 3 กลุ่มจำนวนเท่า ๆ กันได้แก่ A = มีคอฟันปกติ B = คอฟันมีเนื้อฟัน เผยผึ่งและไม่มีอาการเสียวฟัน และ C = กลุ่มคอฟันมีเนื้อฟันเผยผึ่งและมีอาการเสียวฟัน โดยใช้การ ทดสอบด้วยน้ำเย็น (4 ± 1 °C) และการประเมินความเจ็บปวดด้วยตัวเลข (NRS) จากนั้นนำปลาย เทอร์โมคัปเปิลจำนวน 2 สาย ยึดกับคอฟันธรรมชาติทั้งฟันซี่ทดลองและฟันซี่ควบคุมด้วยเรซินคอม โพสิต ติดตามการตอบสนองต่ออาการเสียวฟัน โดยใช้การวัดค่าแรงบีบของอาสาสมัคร เครื่องแสดง คลื่นกระแสไฟฟ้าแบบดิจิทัลใช้ในการบันทึกข้อมูลอุณหภูมิที่ผิวฟันและตอบสนองต่อความเจ็บปวด จากการใช้เครื่องสแกนเนอร์ในปากและเครื่องฉายแสง โดยจะมีการสุ่มลำดับการทดสอบด้วยแสง ความเข้มสูงจากเครื่องสแกนเนอร์ในปากทั้งสองเครื่องและเครื่องฉายแสงแล้วทดสอบที่บริเวณผิวฟัน เป็นเวลา 20 วินาที วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติการทดสอบความแปรปรวนแบบเกี่ยวข้องกันสองทางและ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษา: ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการเพิ่มอุณหภูมิที่ผิวฟันมีค่า 22.98 ± 3.20 องศาเซลเซียสและ 5.864 ± 1.46 องศาเซลเซียสขณะฉายด้วยเครื่องฉายแสงและเครื่องสแกนเนอร์ใน ปากตามลำดับ มีจำนวนอาสาสมัครจำนวนมากที่ตอบสนองต่อเครื่องฉายแสง และมีรายงานระดับ คะแนนการตอบสนองต่ออาการเสียวฟัน (5.10±1.96) สูงกว่าการใช้เครื่องสแกนเนอร์ในปากทั้งสอง ชนิดร่วมกับมีระยะเวลาในการตอบสนองที่สั้นกว่า (2.10 ถึง 18.7 วินาที) โดยอาสาสมัครในกลุ่มคอ ฟันมีเนื้อฟันเผยผึ่งและมีอาการเสียวฟันมีระยะเวลาในการตอบสนองสั้นที่สุด มีความสัมพันธ์เชิงบวก ระหว่างการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิที่ผิวฟันและการตอบสนองต่ออาการเสียวฟันอาสาสมัคร (R2 = 0.232 p<0.01) สรุปผลการศึกษา: ความร้อนที่เกิดจากแสงความเข้มสูงจากเครื่องฉายแสงและเครื่องสแกนเนอร์ใน ปากสามารถทำให้อาสาสมัครบางคนเกิดอาการเสียวฟันได้ โดยความเข้มแสงที่สูงกว่าจะทำให้มีการ เพิ่มอุณหภูมิที่ผิวฟันมากกว่าและทำให้เกิดอาการเสียวฟันมากกว่าen_US
Appears in Collections:DENT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620931026 พราวนภา นาทองคำ.pdf3.52 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.