Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78923
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorNiwat Maneekarn-
dc.contributor.advisorPattara Khamrin-
dc.contributor.advisorKattareeya Kumthip-
dc.contributor.authorWei, Hongyuen_US
dc.date.accessioned2023-10-05T10:42:22Z-
dc.date.available2023-10-05T10:42:22Z-
dc.date.issued2022-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78923-
dc.description.abstractHuman astrovirus (HAstV) is the common cause of acute gastroenteritis in children. The investigation of molecular epidemiology of HAstV is essential for monitoring the emergence and/or re-emergence of new HAstV genotypes, as well as understanding the evolution of HAstV circulating in children suffering from acute gastroenteritis. The present study aimed to investigate the prevalence and distribution of HAstV strains circulating in children hospitalized with acute gastroenteritis in Chiang Mai, Thailand during 2019 to 2020 and the emergence of HAstV recombinant strains in pediatric patients hospitalized with acute gastroenteritis in Chiang Mai, Thailand, spanning of 2011 to 2020. A total of 623 fecal specimens collected from children with acute gastroenteritis were screened for HAstV by RT-PCR that targeted the partial RdRp in ORF 1b and strains were characterized by sequencing and phylogenetic analysis. Of 623 fecal samples, 11 (1.8%) were positive for HAstV. Of these, both classic and novel HAstV genotypes, including classic HAstV1-HAstV5 and novel HAstV-MLB1, were detected. The classic HAstV1 was detected as the most common genotype at a prevalence of 0.64% (4 of 623), followed by classic HAstV4 and novel HAstV-MLB1 each of 0.32% (2 of 623), and classic HAstV2, HAstV3, and HAstV5 each of 0.16% (1 of 623). For the HAstV recombinant strains detection, a total of 92 archival HAstV strains collected from pediatric patients with acute gastroenteritis during the period of 2011 to 2020 were further characterized to identify the recombinant strains. The ORF1b (RdRp) and ORF2 (capsid) junction region of each strain was amplified and sequenced. The obtained sequences were analysed in comparison with the reference sequences retrieved from GenBank database. Their genotypes were assigned using MEGA X software based on the partial ORF1b and ORF2 regions, and the recombination breakpoints of recombinant strains were determined by SimPlot and RDP4 analyses. Five inter-genotype recombinant strains with three recombination patterns of ORF1b/ORF2 of classic HAstV, HAstV8/HAstV1, HAstV8/HAstV3, and HAstV3/HAstV2, were detected. The recombination breakpoints were located at 3'-end region of ORF1b close to the ORF1b/ORF2 junction. In conclusion, the data in this study revealed a relatively high divergence of HAstV genotypes circulating in pediatric patients admitted to the hospitals with acute gastroenteritis in Chiang Mai, Thailand during 2019 to 2020. The classic HAstV1 was the predominant genotype. In addition, several novel inter-genotype recombinant strains of classic HAstV genotypes were detected in pediatric patients with acute gastroenteritis in Chiang Mai, Thailand, during the period of ten years from 2011 to 2020.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectHuman astrovirusen_US
dc.titleMolecular characterization of human astrovirus genotypes and recombinant strains circulating in pediatric patients with acute gastroenteritisen_US
dc.title.alternativeการศึกษาคุณลักษณะเฉพาะในระดับโมเลกุลของจีโนไทป์และสายพันธุ์รีคอมบิแนนท์ของเชื้อไวรัสแอสโทรในผู้ป่วยเด็กที่มีอาการกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบเฉียบพลันen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshGastritis-
thailis.controlvocab.lcshIntestines -- Inflammation-
thailis.controlvocab.lcshVirus diseases-
thailis.controlvocab.lcshEpidemiology-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractไวรัสแอสโทรเป็นเชื้อไวรัสที่พบบ่อยว่าเป็นสาเหตุของโรคกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ เฉียบพลันในเด็กจึงจำเป็นที่จะต้องมีการศึกษาระบาดวิทยาในระดับ โมเลกุลของเชื้อไวรัสชนิดนี้ เพื่อเป็นการเฝ้าระวังการเกิดขึ้นของสายพันธุ์ใหม่ๆในลักษณะอุบัติใหม่และ/หรืออุบัติซ้ำรวมถึง การเข้าใจวิวัฒนาการของเชื้อไวรัสแอสโทรที่ทำให้เกิดการติดเชื้อในเด็กที่มีอาการของโรคกระเพาะ อาหารและลำไส้อักเสบเฉียบพลัน วัตถุประสงค์ของการศึกษาในครั้งนี้เพื่อตรวจหาความชุกและ ชนิดของสายพันธุ์ของเชื้อไวรัสแอสโทรที่ติดเชื้อในเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลด้วย โรคกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบเฉียบพลันในจังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทยในช่วงปี ค.ศ. 2019 ถึง 2020 และตรวจหาเชื้อไวรัสแอสโทรสายพันธุรีคอมบิแนนท์ (recombinant strain) ที่เกิดขึ้น ในช่วงปี ค.ศ. 2011 ถึง 2020 โดยได้ทำการเก็บตัวอย่างตรวจอุจจาระจากผู้ป่วยเด็กที่เข้ารับ การรักษาในโรงพยาบาลในจังหวัดเชียงใหม่จำนวน 623 ตัวอย่าง แล้วทำการตรวจคัดกรอง หาเชื้อไวรัสแอสโทรในตัวอย่างตรวจโดยการเพิ่มปริมาณ DNA ในหลอดทดลองของยีนส์ RdRp ที่อยู่ในภายในส่วน ORF1b ของสารพันธุกรรมของเชื้อไวรัสแอสโทรโดยวิธี RT-PCR และทำการ ถอดรหัสสารพันธุกรรมที่เพิ่มปริมาณมาได้นั้นโดยการวิเคราะห์ทาง Phylogenetics จากตัวอย่าง อุจจาระ 623 ตัวอย่าง ตรวจพบไวรัสแอสโทร 11 ตัวอย่าง (1.8%) ในจำนวนนี้ประกอบด้วยทั้ง ไวรัสแอสโทร classic HAstV1-HAstV5 และ novel HAstV-MLB1 โดยที่ classic HAstV1 พบมากที่สุดโดยมีความชุก 0.64% (4 ใน 623) ตามมาด้วย classic HAstV4 และ novel HAstV- MLB1 ที่มีความชุกชนิดละ 0.32% (2 ใน 623) และตามมาด้วย classic HAstV2, HAstV3, HAstV5 ที่มีความชุกชนิดละ 0.16% (1 ใน 623) ส่วนการตรวจหาไวรัสแอสโทรสายพันธุ์ รีคอมบิแนนท์นั้น ได้ทำการตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างตรวจที่ให้ผลบวกต่อไวรัสแอสโทรจำนวน 92 ตัวอย่างที่เก็บจากผู้ป่วยเด็กที่มีอาการอุจจาระร่วงเฉียบพลันช่วงปี ค.ศ. 2011 ถึง 2020 เพื่อตรวจ พิสูจน์ว่าเป็นสายพันธุ์รีคอมบิแนนท์โดยการเพิ่มปริมาณ DNA ในหลอดทคลองบริเวณช่วงเชื่อมต่อ ของยีนส์ ORF1b (RdRp) และ ORF2 (capsid) ของเชื้อไวรัสแอสโทรในแต่ละสายพันธุ์ แล้วทำการตรวจหาลำดับนิวคลีโอไทด์และนำเอาลำดับวคลีโอไทด์ที่ได้ไปวิเคราะห์เปรียบเทียบกับ ลำดับวคลีโอไทด์ของไวรัสแอสโทรสายพันธุ์มาตรฐานในฐานข้อมูล GenBank โดยใช้โปแกรม คอมพิวเตอร์ MEGA X และตรวจหาตำแหน่งที่เกิด recombination (recombination breakpoint) โดยใช้โปรแกรม SimPlot และโปรแกรม RDP4 ในการวิเคราะห์ ในการศึกษานี้ได้ตรวจพบ เชื้อไวรัสแอสโทรสายพันธุ์รีคอมบิแนนท์จำนวน 5 สายพันธุ์ที่มีรูปแบบการเกิด recombination ของ ORF1b/ORF2 จำนวน 3 รูปแบบ คือ HAstV8/HAstV1, HAstV8/HAstV3, และ HAstV3/HAstV2 โดยพบว่า ตำแหน่งการเกิด recombination อยู่บริเวณด้านปลาย 3' ของ ORF1b ใกล้ๆกับส่วนเชื่อมต่อของ ORF1b/ ORF2 โดยสรุปการศึกษาในครั้งนี้พบความหลากหลายของสายพันธุ์ของไวรัสแอสโทรในผู้ป่วยเด็กที่เข้ารับ การรักษาในโรงพยาบาลด้วยอาการกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบเฉียบพลันในจังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย ในช่วงปี ค.ศ.2019 ถึง 2020 และพบว่า classic HAstV1 เป็นสายพันธุ์ที่พบบ่อย ที่สุด นอกจากนี้ยังตรวจพบเชื้อไวรัสแอส โทรสายพันธุ์รีคอมบิแนนท์หลายรูปแบบในผู้ป่วยเด็กที่มี อาการกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบเฉียบพลันในช่วงระยะเวลา 10 ปี จากปี ค.ศ. 2011 ถึง 2020 อีกด้วยen_US
Appears in Collections:MED: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620751015 HONGYU WEI.pdf12.24 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.