Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78914
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กาญจนา โชคถาวร | - |
dc.contributor.advisor | พรชัย วิสุทธิศักดิ์ | - |
dc.contributor.author | พากร พานอ่อง | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-10-03T10:52:42Z | - |
dc.date.available | 2023-10-03T10:52:42Z | - |
dc.date.issued | 2023-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78914 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this study was to study the psychological impact and to study ways to relieve the minds of officers in Operations and patrol officers at Suvarnabhumi Airport during the epidemic of the Coronavirus 2019 (COVID-19). There were a total of 191 sample officers, consist of 23 operation officers and 168 patrol officers during the year 2021. The research methodologies were used by synthesis of government policies and measures that affect the roles of operations and security patrol officers. In addition, there was assessing the level of stress and depression with a questionnaire. The study found that the spread of the COVID-19 virus has reduced the number of both Thai and foreign tourists traveling through Suvarnabhumi Airport. Meanwhile, it is increasing the responsibilities of operation and security patrol officers to control all of passengers to the inspection and quarantine unit which this responsibility resulting in an increased risk of infection. The results of the staff stress and depression survey found that most of the staff still has normal levels of stress and depression. Only a small percentage of people are depressed to the point of wanting to commit suicide. Some had thoughts of self-harm and had attempted suicide. And in some situations, the suicidal urge cannot be controlled. For the important factors that affect to officer stress levels are status, age and job title level. Due to the higher age and job title level, the decision-making experience is better than those of younger age and job title level. People with marital status were less likely to experience stress and depression than other status. Therefore, organization should have activities to promote improvement of officer emotion, such as establishing crisis counseling units to reduce staff stress that leads to depression and suicide. The unit is to reduce depression problems that affect the minds of personnel. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ผลกระทบทางกายและจิตใจจากไวรัสโคโรน่า2019 (Covid-19) ในกลุ่มเจ้าหน้าที่ศูนย์ปฏิบัติการพิเศษและเจ้าหน้าที่ตระเวนระงับเหตุท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ | en_US |
dc.title.alternative | Mental and physical impacts from Corona Virus 2019 among special operation and security patrol officers in Suvarnnabhumi Airport | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | - |
thailis.controlvocab.thash | ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ | - |
thailis.controlvocab.thash | การติดเชื้อโคโรนาไวรัส | - |
thailis.controlvocab.thash | การบำบัดทางจิต | - |
thailis.controlvocab.thash | พนักงานสายการบิน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเพื่อศึกษาผลกระทบทางกายและจิตใจ รวมถึงแนวทางการช่วยเหลือเยียวยาจิตใจของเจ้าหน้าที่ศูนย์ปฏิบัติการพิเศษ และ เจ้าหน้าที่ตระเวนระงับเหตุท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ในช่วงการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ในการศึกษาครั้งนี้มีจำนวนเจ้าหน้าที่กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 191 คน ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ศูนย์ปฏิบัติการพิเศษ จำนวน 23 คน และ เจ้าหน้าที่ตระเวนระงับเหตุ จำนวน 168 คน ในช่วงปี พ.ศ.2564โดยสังเคราะห์นโยบายและมาตรการของภาครัฐที่มีผลต่อบทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ศูนย์ปฏิบัติการพิเศษและเจ้าหน้าที่ตระเวนระงับเหตุ และประเมินผลระดับความเครียดและภาวะซึมเศร้าด้วยชุดคำถาม ผลการศึกษาพบว่า การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ทำให้จำนวนนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติเดินทางผ่านท่าอากาศยานสุวรรณภูมิลดลง ในขณะเดียวกันทำให้ภาระหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ศูนย์ปฏิบัติการพิเศษ และ เจ้าหน้าที่ตระเวนระงับเหตุ และความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเพิ่มมากขึ้น ผลการสำรวจภาวะความเครียดและภาวะซึมเศร้าของเจ้าหน้าที่ พบว่า เจ้าหน้าที่ส่วนใหญ่ยังมีระดับภาวะความเครียดและภาวะซึมเศร้าในเกณฑ์ปกติ มีเพียงส่วนน้อยที่มีมีภาวะซึมเศร้าจนคิดอยากฆ่าตัวตาย โดยบางรายมีความคิดอยากทำร้ายตัวเองและเคยพยายามฆ่าตัวตาย และในบางสถานการณ์ก็ไม่สามารถควบคุมความอยากฆ่าตัวตายได้ สำหรับปัจจัยที่สำคัญที่มีผลต่อระดับความเครียดของเจ้าหน้าที่ คือ สถานภาพ อายุ และตำแหน่งงาน เนื่องจากอายุและตำแหน่งงานที่สูงขึ้นจะทำให้มีประสบการณ์ในการตัดสินใจที่ดีกว่าผู้ที่มีอายุและตำแหน่งงานที่น้อยกว่า ส่วนผู้ที่มีสถานภาพสมรสจะมีภาวะเครียดและอาการซึมเศร้าได้น้อยกว่าสถานภาพอื่น ดังนั้น องค์กรควรมีกิจกรรมส่งเสริมภาวะทางอารมณ์ของเจ้าหน้าที่ เช่น การจัดตั้งหน่วยให้คำปรึกษาปัญหาในภาวะวิกฤตเพื่อลดความเครียดของบุคลากรอันนำไปสู่ภาวะซึมเศร้าและการฆ่าตัวตาย เพื่อลดปัญหาภาวะซึมเศร้าที่มีผลต่อจิตใจของบุคลากร | en_US |
Appears in Collections: | SOC: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610432002 นายพากร พานอ่อง (ลายน้ำ).pdf | 2.6 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.