Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78911
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ณภัทร จักรวัฒนา | - |
dc.contributor.author | วรญา พิชัยวงศ์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-10-03T09:37:36Z | - |
dc.date.available | 2023-10-03T09:37:36Z | - |
dc.date.issued | 2023-06-12 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78911 | - |
dc.description.abstract | Nowadays, plastic bottles as well-known as PET bottles had taken part in daily life which caused a tremendous amount of plastic bottles waste. Since the government gazette of the ministry of Public health to prohibit of utilize recycle plastics on dietary packaging, only virgin plastics has been allow for this reason. Thus, requirement of utilized virgin plastics has increase drastically. In 2020, Thailand post-consumption of Polyethylene Terephthalate (PET) bottles has been sent to landfill for 114,912 tons, inappropriate disposed 15,120 tons and recyclable 172,368 tons. However, those law on the prohibits of utilize recycled plastics in dietary packaging has just been unlock recently. In this study, the Material Flow Analysis (MFA) has been employed along with Material Circularity Indicator and carbon footprint of Polyethylene Terephthalate in 2020 It was determined that the Material Circularity Indicator was 0.55 and the annual greenhouse gas emissions to be 1,101,860 tCO2-eq/year. Scenario 6 was shown to be the best scenario when circular economy improvement criteria were established for each scenario but scenario 6 is the ideal case. Thus, the best practical scenario is Scenario 5 of improved collection to 85% use rPET in production and improve product to eco-design can increase MCI to 0.74 and emits 383,020 tCO2-eq/year of greenhouse gases, representing a 53% reduction in greenhouse gas emissions. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์การไหลของบรรจุภัณฑ์พอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลตสำหรับเครื่องดื่มและแนวทางปรับปรุงตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน | en_US |
dc.title.alternative | Material flow analysis of Polyethylene Terephthalate beverage packaging and improvement towards circular economy | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | โพลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต | - |
thailis.controlvocab.thash | ขวดพลาสติก | - |
thailis.controlvocab.thash | ก๊าซเรือนกระจก | - |
thailis.controlvocab.thash | วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ปัจจุบันขวดพลาสติกหรือที่เรียกว่าขวด PET เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันซึ่งส่งผลให้เกิดขยะจากขวดพลาสติกเป็นจำนวนมากเนื่องจากราชกิจจานุเบกษาของกระทรวงสาธารณสุขห้ามใช้พลาสติกรีไซเคิลในบรรจุภัณฑ์อาหาร ด้วยเหตุนี้จึงอนุญาตให้ใช้เฉพาะพลาสติกบริสุทธิ์เท่านั้น ดังนั้นความต้องการพลาสติกบริสุทธิ์จึงเพิ่มขึ้นอย่างมาก ในปี 2563 ขวดพลาสติกโพลีเอทิลีนเทเรฟทาเลต (PET) หลังการบริโภคของไทยถูกส่งไปฝังกลบแล้วจำนวน 114,912 ตัน ทิ้งอย่างไม่เหมาะสม 15,120 ตัน และนำไปรีไซเคิล 172,368 ตัน อย่างไรก็ตาม กฎหมายห้ามใช้พลาสติกรีไซเคิลในบรรจุภัณฑ์อาหารเพิ่งได้รับการปลดล็อกเมื่อไม่นานมานี้ ในการศึกษานี้พบว่าเมื่อวิเคราะห์การไหลของวัสดุ (MFA) ค่าหมุนเวียนของวัสดุ(MCI) และการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของขวดพอลิเอทิลีนในปี 2563 พบว่ามีค่าการหมุนเวียนของวัสดุอยู่ที่ 0.55 และมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอยู่ที่1,101,860 tCO2-eq/year เมื่อจัดทำแนวทางปรับปรุงตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียนในแต่ละสถานการณ์จำลองพบว่าสถานการณ์จำลองที่ดีที่สุดคือสถานการณ์จำลองที่ 6 แต่ในสถานการณ์จำลองที่ 6 เป็นได้เพียงสถานการณ์ในอุดมคติเท่านั้นทำให้สถานการณ์จำลองที่ดีที่สุดที่สามารถใช้ได้จริงคือสถานการณ์จำลองที่ 5 ที่มีการรวมการเพิ่มการจัดเก็บที่ดีขึ้น 85% การใช้ rPET ในการผลิตและการออกแบบที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมโดยมีค่าการหมุนเวียนของวัสดุอยู่ที่ 0.74 และ มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเท่ากับ 383,020 tCO2eq/year ซึ่งมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลดลง 53 % | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
630631020_วรญา_พิชัยวงศ์.pdf | 2.37 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.