Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78894
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorJarunee Dibyamandala-
dc.contributor.advisorCharin Mangkhang-
dc.contributor.authorYang, Yangen_US
dc.date.accessioned2023-09-26T11:44:36Z-
dc.date.available2023-09-26T11:44:36Z-
dc.date.issued2023-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78894-
dc.description.abstractThe purposes of this study were: 1) to investigate the effects of MBALL on enhancing the English-listening skills of Thai secondary school students, 2) to examine the effects of MBALL on enhancing the English-speaking skills of Thai secondary school students, and 3) to explore Thai secondary school students’ attitudes toward the use of MBALL to enhance their English listening and speaking skills. The subjects of this study were 29 Mattayomsuksa 4 students enrolling in an English communication course in the first semester of the academic year 2022 at Sacred Heart College, Chiang Mai Province, Thailand. This study employed both quantitative and qualitative methods to study how MBALL affected Thai secondary school students’ skills in English listening and speaking as well as their attitudes toward its use in enhancing English listening and speaking skills. A pilot study was conducted prior to the main experiment. Before and after the MBALL was implemented, students’ listening and speaking scores in English were compared using pre-and post-tests. Individual semi-structured interviews were utilized to gather in-depth information, and a questionnaire was distributed to ascertain the students’ attitudes toward the usage of MBALL. The findings of this study uncovered that 1) Thai secondary students’ English-listening skills improved after the implementation of the MBALL curriculum. 2) Thai secondary students enhanced their English-speaking skills after the implementation of the MBALL curriculum. And 3) Thai secondary students were satisfied with the MBALL curriculum on the ground of English listening and speaking enhancement, adaptability, flexibility, interactivity, enjoyment, immersion, and efficiency.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleMobile-Blended active language learning management to enhance english listening and speaking skills of secondary school studentsen_US
dc.title.alternativeการจัดการเรียนรู้ภาษาเชิงรุกผสมผสานกับอุปกรณ์เคลื่อนที่เพื่อเสริมสร้างทักษะการฟังและการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.lcshEnglish language -- Study and teaching (Secondary)-
thailis.controlvocab.thashEnglish language -- Writing-
thailis.controlvocab.thashParticipatory learning-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractจุดประสงค์ของการศึกษานี้คือ 1) เพื่อศึกษาผลของการจัดการเรียนรู้ภาษาเชิงรุกผสมผสานกับอุปกรณ์เคลื่อนที่เพื่อเสริมสร้างทักษะการฟังภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในประเทศไทย 2) เพื่อศึกษาผลการใช้การจัดการเรียนรู้ภาษาเชิงรุกผสมผสานกับอุปกรณ์เคลื่อนที่เพื่อเสริมสร้างทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนมัธยมศึกษาในประเทศไทย และ 3) เพื่อสำรวจทัศนคติของนักเรียนมัธยมศึกษาในประเทศไทยที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ภาษาเชิงรุกผสมผสานกับอุปกรณ์เคลื่อนที่เพื่อเสริมสร้างทักษะการฟังภาษาอังกฤษ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 29 คนที่ลงเรียนวิชาการสื่อสารภาษาอังกฤษในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ที่โรงเรียนพระหฤทัยจังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงปริมาณและ เชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาผลการจัดการเรียนรู้และทัศนคติของนักเรียนมัธยมศึกษาในประเทศไทยที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ภาษาเชิงรุกผสมผสานกับอุปกรณ์เคลื่อนที่เพื่อเสริมสร้างทักษะการฟังภาษาอังกฤษ การวิจัยนำร่องได้ดำเนินการก่อนวิจัยหลักโดยผู้วิจัยได้ดำเนินการเก็บข้อมูลการฟังและการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนมัธยมศึกษาในประเทศไทยเพื่อเปรียเทียบผลก่อนและหลังจัดการเรียนรู้ภาษาเชิงรุกผสมผสานกับอุปกรณ์เคลื่อนที่เพื่อเสริมสร้างทักษะการฟังภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในประเทศไทยและดำเนินการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างรายบุคคลชนิดกึ่งโครงสร้างและรวบรวมข้อมูลเชิงลึกรวมถึงเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามเพื่อวัดทัศนคติของนักเรียนมัธยมศึกษาในประเทศไทย ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ภาษาเชิงรุกผสมผสานกับอุปกรณ์เคลื่อนที่เพื่อเสริมสร้างทักษะการฟังภาษาอังกฤษ ผลการศึกษาพบว่า 1) นักเรียนมัธยมศึกษาในประเทศไทยมีทักษะการฟังภาษาอังกฤษสูงขึ้นหลังจากได้รับการจัดการเรียนรู้ภาษาเชิงรุกผสมผสานกับอุปกรณ์เคลื่อนที่เพื่อเสริมสร้างทักษะการฟังภาษาอังกฤษ 2) นักเรียนมัธยมศึกษาในประเทศไทยมีทักษะการพูดภาษาอังกฤษสูงขึ้นหลังจากได้รับการจัดการเรียนรู้ภาษาเชิงรุกผสมผสานกับอุปกรณ์เคลื่อนที่เพื่อเสริมสร้างทักษะการฟังภาษาอังกฤษ 3) นักเรียนมัธยมศึกษาในประเทศไทยมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ภาษาเชิงรุกผสมผสานกับอุปกรณ์เคลื่อนที่เพื่อเสริมสร้างทักษะการฟังภาษาอังกฤษทั้งด้านของการพัฒนาทักษะการพูด ด้านความสามารถในการปรับตัว ด้านความยืดหยุ่น ด้านการมีปฏิสัมพันธ์ ด้านความสนุกสนาน ด้านความตั้งใจและด้านประสิทธิภาพen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Yang Yang 640231007.pdf7.36 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.