Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78859
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสร้อยสุดา วิทยากร-
dc.contributor.authorพวงเพ็ชร ศรีโสภารัตน์en_US
dc.date.accessioned2023-09-13T01:16:21Z-
dc.date.available2023-09-13T01:16:21Z-
dc.date.issued2566-05-22-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78859-
dc.description.abstractThis research used a mixed methods using case study research aims to study 1) participatory process of parent’s collaboration in using the tactile schedule to reduce the urge to changing morning daily routine for students with multiple disabilities 2) reducing parental prompting and in modification and 3) the ability to changing morning daily routine of students with multiple disabilities. The case study was selected by purposive method, 1 person and his parents: students with intellectual disability and low vision, has an intelligence level of 35, no change morning daily routines, must be prompted verbally and in gestures by parents. Research tools were: 1) an observation form for parent’s prompting behavior before and after in using tactile schedule; 2) an interview form for parents; 3) parent’ prompting behavior record form for a case study while using a tactile schedule and 4) parents' teaching plans. The researcher conducted the research for 4 months and analyzed the data by means of values and descriptions. The results of the study revealed that the process of parental involvement in the use of schedules to reduce the urge to change the morning routine for students with multiple disabilities The sequence of steps are as follows: 1) co-awareness and co-determination of problems, 2) co-planning and co-decisions for solutions, 3) co-operation in activities according to the plan using touch schedules, and 4) co-evaluation and co-operation, know the benefits. In addition, parents reduced the urge to change their morning routines for every activity and the case study's ability to change their morning routines improved, and found that wake-up activity, bathing activities, brushing activity and eating activities case study to change daily routine by himself and in dress activities Pre-school activities Case studies require verbal prompting.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectCollaboration, Parents of Children with Multiple Disabilities, Responsibility Prompting, Basic Daily Routines, Tactile Scheduleen_US
dc.titleการมีส่วนร่วมรับผิดชอบของผู้ปกครองในการใช้ตารางเวลาแบบสัมผัสเพื่อลดการกระตุ้นเตือนการเปลี่ยนกิจวัตรประจำวันตอนเช้า ของนักเรียนพิการซ้อนen_US
dc.title.alternativeParent’s collaboration in using tactile schedule to decrease prompting for changing morning daily routine activities of a student with multiple disabilitiesen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashเด็กพิการ-
thailis.controlvocab.thashการมีส่วนร่วมของบิดามารดา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยในครั้งนี้ใช้รูปแบบการวิจัยแบบผสม มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) กระบวนการมีส่วนร่วมรับผิดชอบของผู้ปกครองในการใช้ตารางเวลาแบบสัมผัสเพื่อลดการกระตุ้นเตือนในการเปลี่ยนกิจวัตรประจำวันตอนเช้า 2) การลดการกระตุ้นเตือนของผู้ปกครอง ในการเปลี่ยนกิจวัตรประจำวันตอนเช้า และ 3) ความสามารถในการเปลี่ยนกิจวัตรประจำวันตอนเช้าของนักเรียนพิการซ้อน คัดเลือกกรณีศึกษาแบบเจาะจง ได้ 1 คนและผู้ปกครอง คือ นักเรียนพิการซ้อนประเภทความบกพร่องทางสติปัญญาและบกพร่องทางการเห็น ระดับเชาวน์ปัญญา 35 ไม่สามารถเปลี่ยนกิจวัตรประจำวันตอนเช้า ต้องได้รับการกระตุ้นเตือนทางวาจาและท่าทางโดยผู้ปกครอง เครื่องมือวิจัย 1) แบบสังเกตพฤติกรรมการกระตุ้นเตือนของผู้ปกครอง 2) แบบสัมภาษณ์ผู้ปกครอง 3) แบบบันทึกพฤติกรรมการกระตุ้นเตือนของผู้ปกครองต่อกรณีศึกษาขณะใช้ตารางเวลาแบบสัมผัส และ 4) แผนการสอนผู้ปกครอง 4 แผน ผู้วิจัยดำเนินการวิจัย 4 เดือน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าฐานนิยมและการพรรณนา ผลวิจัยพบว่า กระบวนการมีส่วนร่วมรับผิดชอบของผู้ปกครองในการใช้ตารางเวลาแบบสัมผัสเพื่อลดการกระตุ้นเตือนในการเปลี่ยนกิจวัตรประจำวันตอนเช้า ประกอบด้วย 1) การร่วมคิดเพื่อการตระหนักรู้และกำหนดปัญหา 2) การวางแผนและร่วมตัดสินใจเลือกแนวทางการแก้ปัญหา 3) การร่วมปฏิบัติงานในกิจกรรมตามแผนการใช้ตารางเวลาแบบสัมผัส และ 4) การร่วมประเมินผลและการรับรู้ถึงผลประโยชน์ อีกทั้งผู้ปกครองลดการกระตุ้นเตือนในการเปลี่ยนกิจวัตรประจำวันตอนเช้าทุกกิจกรรมและความสามารถในการเปลี่ยนกิจวัตรประจำวันตอนเช้าของกรณีศึกษาพัฒนาดีขึ้น พบว่า กิจกรรมตื่นนอน อาบน้ำ แปรงฟัน และรับประทานอาหาร กรณีศึกษาเปลี่ยนกิจวัตรประจำวันตอนเช้าได้ด้วยตนเอง ส่วนกิจกรรมการแต่งกาย เตรียมไปโรงเรียน กรณีศึกษาต้องการการกระตุ้นเตือนด้วยวาจาen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610232037 พวงเพ็ชร ศรีโสภารัตน์.pdf4.89 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.