Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78814
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Sutthikan Tipayakesorn | - |
dc.contributor.advisor | Suthida Chamrat | - |
dc.contributor.advisor | Ladapha Ladachart | - |
dc.contributor.author | Wirin Wansomsakul | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-09-09T07:14:32Z | - |
dc.date.available | 2023-09-09T07:14:32Z | - |
dc.date.issued | 2023-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78814 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research were (1) to develop a context-based learning management competence promotion model for science teachers and (2) to study the effects of using a context-based science teacher learning management competence promotion model. The case study research was the research method used in this research. The target group consists of science teachers, Chiang Mai Primary Educational Service Area 1, totaling 15 people, collecting and analyzing data by assessing the quality of the ability to design instructional management using context-based from the synthesis of relevant research theoretical documents, class observation, and interview. Quantitative and qualitative data analysis, Statistics used in data analysis consisted of mean, percentage, and frequency. The research results showed that 1) The results of the development of a model for promoting the teaching and learning ability of science teachers using context-based. The following processes: (1) Study of basic information and pilot study information by synthesis of theories related to professional development. Contextual learning and facilitation of learning (2) a study of data from group discussions with teachers and students; (3) a study of theoretical concepts into practice. (4) a pilot study with an experimental group to develop an appropriate model; (5) validation of the suitability and feasibility of the model implementation by focus group discussion with experts; From the development, there are 3 steps of instructional management, namely 1) Preparations. At this stage, teachers, students, and contents (Context & Content) should be known at this stage. 2) Facilitative Learning, namely: 2.1) Building a relationship Create an agreement (Connect & Contract) 2.2) Communication & Conversation 2.3 ) Learning together and check the answer (Collaborations & Check) 3) Closing summary and reflection 3.1) Summarize what was gained from the discussion. Share things that will be used in real life (Commit & Conclude) 3.2) Challenging the development of creative work (Challenge & Creative). 2) The effect of using a context-based learning management competence promotion model for science teachers the researcher has trained teachers in professional development for the target group in order to design learning and prepare teaching and learning plans. Then there is supervision and follow-up on the teaching and learning management of the target group. The results showed that 2.1) The design of the teaching and learning management plan for the target group consisted of 2 types: 1) Individual teaching design 2) Team teaching design which applies the following format (1) personal context Context & Content preparation stage by studying the teacher's context students and content (2) socio-cultural context, opening stage (2.1) Connect & Contract, building relationships Teachers and students work together to build agreements through a variety of activities. Teaching (Facilitative Learning) (2.2) Communication & Conversation Teachers communicate by asking questions and discussing. Connect & Contract and Collaboration & Check are also used in every plan. During opening and teaching (2.3) The physical context (Personal Context) Reflective Close uses Commit & Conclude teachers together with students summarize the lesson content. The work is presented in front of the class. Which is still using Communication & Conversation continuously and cooperative learning and verification, Collaboration & Check. The Challenge & Creative level provides opportunities to encourage learners to challenge themselves to be creative. 2.2) Teachers' teaching performance in the classroom. It was found that teachers analyzed the context-based conceptual elements, which consisted of 3 contexts: 1. Personal Context 2. Sociocultural Context 3. Physical Context, which is compared to the 3 steps of context-based teaching. Including 1) Preparation, consisting of the first pair of C, which is Context & Content 2) Teaching to facilitate learning will consist of pairs of C 2-4, which are Connect & Contract, Communication & Conversation, and Collaboration & Check. It is found that these 3 pairs of C can be interchanged, with any pair of C coming up first or it can happen again. It doesn't have to be in order but can flow freely during the teaching process. Comments and conclusions will consist of pairs of C 5-6, which are Commit & Conclude and Challenge & Creative 3) Summary (Reflective Close) 2.3) Reflections on the use of the model are: 1. Developing students to have higher efficiency in science learning 2. Being a coach and director of learning to adapt to students 3. Get to know new teaching processes that are effective and diverse. 4. Obtained teaching techniques to be applied to teaching and learning management. 5. Obtained context-based teaching and learning guidelines for science teachers. 2.4) The results of improving the model with 3 contexts, consisting of 1) Preparation, consisting of 1 pair of C, which is Context & Content 2) Teaching to facilitate learning will consist of pairs of C 2-4, which are Connect &Contract, Communication& Conversation, and Collaboration &Check. These 3 pairs of C can be interchanged with any pair of C coming up first or it can happen again. It doesn't have to be in order but can flow freely during the teaching process. And the conclusion will consist of pairs of C 5-6, which are Commit &Conclude and Challenge & Creative 3) Summary (Reflective Close). | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Development of a science teacher professional development model to enhance ability in Contexual-based instruction | en_US |
dc.title.alternative | การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนการสอนของครูวิทยาศาสตร์โดยใช้บริบทเป็นฐาน | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Science -- Study and teaching | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Science teachers | - |
thailis.controlvocab.thash | Contexual-based instruction | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความสามารถในการจัด การเรียนการสอนของครูวิทยาศาสตร์โดยใช้บริบทเป็นฐาน และ(2) เพื่อศึกษาผลของการใช้รูปแบบการส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนการสอนของครูวิทยาศาสตร์โดยใช้บริบทเป็นฐาน การวิจัยเชิงกรณีศึกษาเป็นวิธีวิจัยที่ใช้ในการวิจัยนี้ กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วยครูวิทยาศาสตร์ สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 1 จำนวน 15 คน เก็บรวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา ด้วยประเมินคุณภาพความสามารถในการออกแบบการจัดการเรียนการสอนโดยใช้บริบทเป็นฐาน จากการสังเคราะห์เอกสารทฤษฎีงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การสังเกตชั้นเรียน และการสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และความถี่ ผลการวิจัย พบว่า 1) ผลการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนการสอนของครูวิทยาศาสตร์โดยใช้บริบทเป็นฐาน ได้กระบวนการดังนี้ (1) การศึกษาข้อมูลพื้นฐานและข้อมูลการศึกษานำร่องโดยการสังเคราะห์ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาวิชาชีพ การเรียนรู้ตามบริบท และการอำนวยการให้เกิดการเรียนรู้ (2) การศึกษาข้อมูลจากการสนทนากลุ่มกับครูและนักเรียน (3) การศึกษาแนวคิดทฤษฎีสู่การปฏิบัติ (4) การศึกษานำร่องกับกลุ่มทดลองเพื่อพัฒนารูปแบบที่เหมาะสม (5) การตรวจสอบยืนยันความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของการนำรูปแบบไปใช้ด้วยการสนทนากลุ่ม Focus Group กับผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งจากการพัฒนาทำให้ได้รูปแบบการจัดการเรียนการสอน 3 ขั้นตอน คือ 1) การเตรียมการ (Preparations) ในขั้นนี้ควรทราบบริบทครู นักเรียน และเนื้อหา (Context & Content) 2) ขั้นสอน (Facilitative Learning) ได้แก่ 2.1) สร้างความสัมพันธ์ สร้างข้อตกลง (Connect & Contract) 2.2) การสื่อสาร สนทนา (Communication & Conversation ) 2.3 ) การเรียนรู้ร่วมกัน และตรวจสอบคำตอบ (Collaborations & Check) 3) ขั้นสรุปปิดสะท้อนผล 3.1) สรุปสิ่งที่ได้รับจากการคุยกัน แบ่งปันสิ่งที่จะนำไปใช้ในชีวิตจริง (Commit & Conclude) 3.2 ) ท้าทายในการพัฒนางานอย่างสร้างสรรค์ (Challenge & Creative) 2) ผลของการใช้รูปแบบการส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนการสอนของครูวิทยาศาสตร์โดยใช้บริบทเป็นฐาน ซึ่งผู้วิจัยได้มีการฝึกอบรมการพัฒนาวิชาชีพครูให้แก่กลุ่มเป้าหมายเพื่อออกแบบการเรียนรู้และจัดทำแผนการเรียนการสอน จากนั้นมีการนิเทศติดตามการจัดการเรียนการสอนของกลุ่มเป้าหมาย ผลการวิจัยพบว่า 2.1) การออกแบบแผนการจัดการเรียนการสอนของกลุ่มเป้าหมายมีด้วยกัน 2 ลักษณะคือ 1) การออกแบบการสอนเดี่ยว 2) ออกแบบการสอนเป็นทีม ซึ่งนำรูปแบบไปใช้ดังต่อไปนี้ (1) ด้านบริบทส่วนตัว ขั้นการเตรียม Context & Contentโดยศึกษาบริบทของครู นักเรียนและเนื้อหาที่สอน (2) ด้านบริบททางสังคมวัฒนธรรม ขั้นเปิดใช้ (2.1) Connect & Contract สร้างสัมพันธ์สัมพันธ์ ครูและนักเรียนร่วมกันสร้างข้อตกลงด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย ขั้นสอน (Facilitative Learning) (2.2) Communication & Conversation ครูสื่อสารโดยตั้งคำถาม สนทนา ยังมีการใช้ Connect & Contract และ Collaboration & Check ร่วมด้วยทุกแผน ในช่วงการเปิดและสอน (2.3) ด้านบริบททางกายภาพ (Personal Context) ขั้นปิดสรุปสะท้อนผล (Reflective Close) ใช้ Commit & Conclude ครูร่วมกับนักเรียนสรุปเนื้อหาบทเรียน มีการนำเสนอผลงานหน้า ชั้นเรียน ซึ่งยังมีการใช้ Commication & Conversation ต่อเนื่อง และการเรียนร่วมมือและการตรวจสอบ Collabolation & Check ขั้น Challenge & Creative การเปิดโอกาส กระตุ้นผู้เรียนท้าทายให้มีการสร้างสรรค์งาน 2.2) ผลการปฏิบัติการสอนของครูในชั้นเรียน พบว่าครูได้มีการวิเคราะห์องค์ประกอบแนวคิดบริบทเป็นฐานซึ่งมียู่ 3 บริบท ประกอบด้วย 1. บริบทส่วนบุคคล (Personal Context) 2. บริบททางสังคมและวัฒนธรรม (Sociocultural Context) 3. บริบททางกายภาพ (Physical Context) ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับขั้นตอนของการสอนโดยใช้บริบทเป็นฐาน 3 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นเตรียม (Preparation) จะประกอบด้วย C คู่ที่ 1 คือ Context & Content 2) ขั้นสอนเพื่ออำนวยการเรียนรู้ (Facilitative Learning) จะประกอบด้วย C คู่ที่ 2- 4 คือ Connect & Contract, Communication & Conversation และ Collaboration & Check โดยพบว่า C ทั้ง 3 คู่นี้สามารถสลับกันโดย C คู่ใดจะขึ้นก่อนก็ได้ หรือเกิดขึ้นซ้ำอีกก็ได้ ไม่จำเป็นต้องเรียงลำดับก่อนหลังแต่สามารถมีการเลื่อนไหลได้อย่างอิสระในระหว่างดำเนินการสอน และขั้นสรุป จะประกอบด้วย C คู่ที่ 5- 6 คือ Commit & Conclude และ Challenge & Creative 3) ขั้นสรุปปิดการสะท้อนผล (Reflective Close) 2.3) การสะท้อนผลการนำรูปแบบไปใช้ คือ 1. พัฒนาผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพทางการเรียนวิทยาศาสตร์ได้สูงขึ้น 2. มีความเข้าใจบทบาท การเป็นโค้ชและผู้อำนวยการจัดการเรียนรู้ไปปรับใช้กับเด็กนักเรียน 3.ได้รู้จักกระบวนการในการสอนใหม่ๆที่ได้ผลและหลากหลาย 4.ได้รับเทคนิคการสอนเพื่อนำไปปรับใช้กับการจัดการเรียนการสอน 5. ได้แนวทางการจัดการเรียนการสอนสำหรับครูวิทยาศาสตร์โดยใช้บริบทเป็นฐาน 2.4) ผลการปรับปรุงรูปแบบ โดยมี 3 บริบท ประกอบด้วย 1) ขั้นเตรียม (Preparation) จะประกอบด้วย C คู่ที่ 1 คือ Context & Content 2) ขั้นสอนเพื่ออำนวยการเรียนรู้ (Facilitative Learning ) จะประกอบด้วย C คู่ที่ 2- 4 คือ Connect &Contract, Communication& Conversation และ Collaboration &Check ซึ่ง C ทั้ง 3 คู่นี้สามารถสลับกันโดย C คู่ใดจะขึ้นก่อนก็ได้ หรือเกิดขึ้นซ้ำอีกก็ได้ ไม่จำเป็นต้องเรียงลำดับก่อนหลังแต่สามารถมีการเลื่อนไหลได้อย่างอิสระในระหว่างดำเนินการสอน และขั้นสรุป จะประกอบด้วย C คู่ที่ 5- 6 คือ Commit &Conclude และ Challenge & Creative 3) ขั้นสรุปปิดการสะท้อนผล (Reflective Close) | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
วิริน วันสมสกุล 590252031.pdf | 4.37 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.