Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78792
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Amporn Jirattikorn | - |
dc.contributor.advisor | Paiboon Hengsuwan | - |
dc.contributor.advisor | Ariya Svetamra | - |
dc.contributor.author | Su, Yiqi | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-09-09T04:11:47Z | - |
dc.date.available | 2023-09-09T04:11:47Z | - |
dc.date.issued | 2023-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78792 | - |
dc.description.abstract | This thesis explores China's danmei subculture, focusing on the production of danmei novels by Chinese female writers and the interpretation of these novels by female fans. It investigates how danmei culture adapts to fans' perceptions of gender and cultural perspectives. The study adopts a qualitative research approach, utilizing encoding and decoding theory as the framework, along with discourse and gender theories, subculture theory, female subculture theory, and audience reception theory. The thesis employs participatory observation, interviews, and netnography to gather data from online platforms. The research reveals the transnational and global nature of the danmei subculture, with active fan participation across various countries and online platforms. Despite facing opposition and censorship, network media plays a vital role in promoting and expanding danmei culture. The analysis of danmei novels highlights their diverse themes and narratives that challenge traditional gender roles and amplify marginalized voices. Female fans actively engage in creating and sharing danmei content, finding empowerment in its representation of gender and sexuality. The danmei subculture disrupts patriarchal norms, contributes to gender inclusivity and LGBTQ+ rights, and fosters a supportive community. However, the research acknowledges potential negative impacts, such as unrealistic relationship expectations and exposure to explicit content among underage readers. To address these issues, promoting diversity, educating readers about healthy relationships, and considering age-appropriate content consumption are important considerations. While recognizing its limitations, the study suggests future research directions, including examining the complexities of danmei discourse and its potential to challenge or reinforce gender norms. In conclusion, this thesis deepens our understanding of the danmei subculture, its transnational dynamics, the role of network media, ideological and commercial incorporation complexities, and its resistance against dominant norms. It sheds light on the motivations and interpretations of female fans, the cultural significance of danmei, and its impact on gender inclusivity. Further research is needed to explore the discourse complexities and potential norm-challenging aspects of the subculture. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Chinese female writers’ production and female fans’ interpretation of Danmei novels | en_US |
dc.title.alternative | การผลิตนวนิยายดันเม่ยของนักเขียนหญิงชาวจีนและการตีความของแฟนผู้หญิง | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Fiction | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Danmei | - |
thailis.controlvocab.thash | Subculture | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้สำรวจเกี่ยวกับวัฒนธรรมย่อยดันเม่ยในประเทศจีน โดยเน้นที่การผลิตนวนิยายดันเม่ยโดยนักเขียนหญิงชาวจีนและการตีความของแฟนผู้หญิงต่อนิยายเหล่านี้ วิทยานิพนธ์สำรวจถึงวิธีการที่วัฒนธรรมดันเม่ยปรับตัวให้เข้ากับมุมมองทางเพศภาวะและวัฒนธรรมของแฟนผู้อ่าน การศึกษาใช้แนวทางการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้ทฤษฎีเกี่ยวกับการเข้ารหัสและถอดรหัสเป็นกรอบร่วมกับทฤษฎีวาทกรรมและเพศภาวะ ทฤษฎีวัฒนธรรมย่อย ทฤษฎีวัฒนธรรมย่อยของผู้หญิง และทฤษฎีการรับชมผู้ชม วิทยานิพนธ์ใช้วิธีการสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม การสัมภาษณ์และเน็ตชาติพรรณวรรณา เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลจากแพลตฟอร์มออนไลน์ การวิจัยเปิดเผยถึงลักษณะธรรมชาติข้ามชาติและระดับโลกของวัฒนธรรมย่อยดันเม่ย ด้วยการมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันของแฟนผู้อ่านข้ามหลายประเทศและแพลตฟอร์มออนไลน์ต่างๆ แม้ว่าต้องเผชิญกับฝ่ายตรงข้ามและการเซ็นเซอร์ สื่อเครือข่ายได้แสดงบทบาทสำคัญในการส่งเสริมและขยายวัฒนธรรมดันเม่ย การวิเคราะห์นวนิยายดันเม่ยสะท้อนถึงท้องเรื่องที่หลากหลายและเรื่องเล่าที่ท้าทายบทบาททางเพศภาวะแบบจารีตและขยายเสียงของกลุ่มคนชายขอบ แฟนผู้หญิงเข้าไปพัวพันอย่างแข็งขันในการสร้างและแบ่งปันเนื้อหาดันเม่ย ซึ่งพบการเสริมอำนาจในการนำเสนอภาพตัวแทนของเพศภาวะและเพศวิถี วัฒนธรรมย่อยดันเม่ยรบกวนบรรทัดฐานแบบชายเป็นใหญ่ มีส่วนช่วยให้มีสภาวะรวมเข้าเพศภาวะและสิทธิของผู้มีความหลากหลายทางเพศ และส่งเสริมให้เกิดการร่วมมือในชุมชนที่สนับสนุนกัน อย่างไรก็ตาม งานวิจัยยอมรับในผลกระทบเชิงลบ เช่น ความคาดหวังในความสัมพันธ์ที่ไม่จริง และการเผชิญหน้ากับเนื้อหาที่เห็นชัดเจนในบรรดาผู้อ่านอายุน้อยเกินไป ในการแก้ไขปัญหาเหล่านี้ การส่งเสริมความหลากหลาย การให้การศึกษาแก่ผู้อ่านเกี่ยวกับความสัมพันธ์ที่ดีต่อสุขภาพและการคำนึงถึงการบริโภคเนื้อหาที่เหมาะสมตามวัยเป็นสิ่งสำคัญที่ควรพิจารณา เมื่อมันมีข้อจำกัด งานศึกษาเสนอแนะทิศทางการวิจัยในอนาคต รวมถึงการตรวจสอบความซับซ้อนของวาทกรรมดันเม่ยและศักยภาพต่อการท้าทายหรือเสริมกำลังบรรทัดฐานทางเพศภาวะ สรุป วิทยานิพนธ์นี้ทำให้เราเข้าใจลึกซึ้งถึงวัฒนธรรมย่อยดันเม่ย พลวัตข้ามชาติ บทบาทสื่อเครือข่าย ความซับซ้อนของการผสามผสานทางอุดมการณ์และการพาณิชย์ และการต่อต้านขัดขืนต่อบรรทัดฐานครอบงำ วิทยานิพนธ์สร้างความกระจ่างในเรื่องแรงจูงใจและการตีความของแฟนผู้หญิง นัยสำคัญทางวัฒนธรรมของดันเม่ย และผลกระทบต่อสภาวะรวมเข้าเพศภาวะ การวิจัยเพิ่มเติมต่อไปที่จำเป็นคือการสำรวจความซับซ้อนของวาทกรรมต่าง ๆ และบรรทัดฐานที่มีศักยภาพ ซึ่งเป็นมิติที่ท้าทายของวัฒนธรรมย่อย | en_US |
Appears in Collections: | SOC: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610435801-Su Yiqi.pdf | 3.62 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.