Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78789
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSuthida Chamrat-
dc.contributor.advisorKreetha Kaewkhong-
dc.contributor.advisorLadapha Ladachart-
dc.contributor.authorJatutip Kayaen_US
dc.date.accessioned2023-09-09T03:35:48Z-
dc.date.available2023-09-09T03:35:48Z-
dc.date.issued2023-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78789-
dc.description.abstractThis research aims to (1) Study and synthesize the Maker conceptual framework and components of STEM education integrated learning activities using the Maker concept. (2) Design and develop STEM education integrated learning activities using the maker concept for pre-service science teacher professional development. (3) Study the maker concept of pre-service science teachers before and after participating in STEM integrated learning activities using the maker concept. (4) To study the ability to design and implement STEM education lessons of pre-service science teachers who participated in STEM integrated learning activities using the Maker concept. This research is case study research. The research team consisted of 12 pre-service science teachers at the Department of Physics at a northern Rajabhat University. Collected data using the Behavioral Measurement Scale indicating the Maker's concept level. Assess the ability to create learning activities according to the STEM approach by synthesizing relevant documents, class observations and interview quantitative and qualitative data analysis. Statistics used in data analysis consisted of mean, standard deviation and t-test. The results showed that the synthesis of the maker conceptual framework found that 1) The elements of the organization infused with the maker concept consist of 6 aspects: Change, Learn, Self-efficacy, Play, Make, Participate and Share. 2) A workshop training course promoting learning according to the Maker concept to develop the ability to design and implement STEM education lessons of pre-service science teachers for 2 days, totaling 14 hours, consisting of 4 parts: Part 1 Checking the maker concept level before attending the workshop. Part 2 Promotion of learning according to the maker concept which consists of 3 activities: (1) Activity to review the basic knowledge. (2) Practice activities, learning activities according to the maker concept. (3) Application of learning activities based on the maker concept integrated design and development of learning activities according to the STEM education approach. Part 3 Learning exchange activities reflecting the results of activities and part 4, checking the maker concept level after attending the workshop. 3) The 12 pre-service science teachers had the mean maker concept level after attending the workshop training on promoting learning according to the maker concept increased higher than before attending the training. 4) Before joining the training course, a workshop to promote learning according to the Maker concept 2 pre-service science teachers taught beginner integrated STEM education and 10 taught intermediate STEM integrated education. After attending the workshop training course to promote learning according to the maker concept the 5 pre-service science teachers had a higher level of creativity in STEM education activities, that is, from teaching that integrated STEM education at the beginning level to the proficiency level. 2 students and teaching that integrates intermediate STEM education into a professional level 3 people. 4 pre-service science teachers designed and implemented STEM lessons that covered all 6 elements of the maker concept in all 3 plans. The aspect of learning methods to learn can be found in every pre-service teacher activity plan and the least common side aspect of self-efficacy.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleDevelopment of pre-service science teachers' ability to design and implement in STEM lessons using the maker conceptsen_US
dc.title.alternativeการพัฒนาความสามารถในการออกแบบและใช้บทเรียนสะเต็มศึกษาของครูวิทยาศาสตร์ก่อนประจำการโดยใช้แนวคิดเมกเกอร์en_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.lcshLesson planning-
thailis.controlvocab.lcshEducation-
thailis.controlvocab.lcshSTEM lessons-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาและสังเคราะห์กรอบแนวคิดเมกเกอร์ และองค์ประกอบของกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการสะเต็มศึกษาโดยใช้แนวคิดเมกเกอร์ (2) ออกแบบและพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการสะเต็มศึกษาโดยใช้แนวคิดเมกเกอร์สำหรับการพัฒนาวิชาชีพครูวิทยาศาสตร์ก่อนประจำการ (3) ศึกษาแนวคิดเมกเกอร์ของครูวิทยาศาสตร์ก่อนประจำการก่อนและหลังการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการสะเต็มศึกษาโดยใช้แนวคิดเมกเกอร์ (4) ศึกษาความสามารถในการออกแบบและใช้บทเรียนสะเต็มศึกษาของครูวิทยาศาสตร์ก่อนประจำการที่ผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการสะเต็มศึกษาโดยใช้แนวคิดเมกเกอร์ การวิจัยเชิงกรณีศึกษาเป็นวิธีวิจัยที่ใช้ในการวิจัยนี้ พลวิจัยประกอบด้วยครูวิทยาศาสตร์ก่อนประจำการ สาขาวิชาฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยราชภัฎแห่งหนึ่งในภาคเหนือ จำนวน 12 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบวัดพฤติกรรมบ่งชี้ระดับแนวความคิดแบบเมกเกอร์ ประเมินความสามารถในการสร้างสรรค์กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา จากการสังเคราะห์เอกสารที่เกี่ยวข้อง การสังเกตชั้นเรียน และการสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า จากการศึกษาสังเคราะห์กรอบแนวคิดเมกเกอร์พบว่า 1) องค์ประกอบของกรอบแนวคิดแบบเมกเกอร์ ประกอบด้วย 6 ด้าน คือ ด้านการยอมรับการเปลี่ยนแปลงที่อาจจะเกิดขึ้น (Change) ด้านการเรียนรู้วิธีการเรียนรู้ (Learn) ด้านการรับรู้ความสามารถของตนเอง (Self-efficacy) ด้านความสนุกกับการเล่น (Play) ด้านการลงมือทำ (Make) และ ด้านการมีส่วนร่วม (Participate) และการแบ่งปัน (Share) 2) หลักสูตรฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการส่งเสริมการเรียนรู้ตามแนวคิดเมกเกอร์เพื่อพัฒนาความสามารถในการออกแบบและใช้บทเรียนสะเต็มศึกษาของครูวิทยาศาสตร์ก่อนประจำการ จำนวน 2 วัน รวม 14 ชั่วโมง ประกอบไปด้วย 4 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 การตรวจสอบระดับความคิดแบบเมกเกอร์ก่อนเข้ารับการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ ส่วนที่ 2 การส่งเสริมการเรียนรู้ตามแนวคิดเมกเกอร์ ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรม 3 กิจกรรมได้แก่ (1) กิจกรรมทบทวนตรวจสอบพื้นฐานความรู้ (2) กิจกรรมการฝึกปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดเมกเกอร์ (3) การประยุกต์ใช้กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดเมกเกอร์ในการออกแบบบูรณาการและพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ส่วนที่ 3 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้สะท้อนผลการปฏิบัติกิจกรรม และส่วนที่ 4 การตรวจสอบระดับแนวคิดเมกเกอร์หลังเข้ารับการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ 3) ครูวิทยาศาสตร์ก่อนประจำการจำนวน 12 คน มีค่าเฉลี่ยระดับแนวความคิดแบบเมกเกอร์หลังการเข้าร่วมอบรมหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการการส่งเสริมการเรียนรู้ตามแนวคิดเมกเกอร์เพิ่มสูงขึ้นกว่าก่อนการเข้าร่วมอบรมทุกคน 4) ก่อนการเข้าร่วมอบรมหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการการส่งเสริมการเรียนรู้ตามแนวคิดเมกเกอร์ ครูวิทยาศาสตร์ก่อนประจำการ 2 คน มีการสอนที่บูรณาการสะเต็มศึกษาระดับเริ่มต้น (Beginner) และ 10 คนมีการสอนที่บูรณาการสะเต็มศึกษาระดับกลาง (Intermediate) หลังการเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการครูวิทยาศาสตร์ก่อนประจำการ 5 คนมีระดับการสร้างสรรค์กิจกรรมสะเต็มศึกษาที่สูงขึ้นจากเดิม คือ จากการสอนที่บูรณาการสะเต็มศึกษาระดับเริ่มต้น (Beginner) เป็นระดับเชี่ยวชาญ (Proficiency) จำนวน 2 คน และจากการสอนที่บูรณาการสะเต็มศึกษาระดับกลาง (Intermediate) เป็นระดับเชี่ยวชาญ (Proficiency) จำนวน 3 คน ครูวิทยาศาสตร์ก่อนประจำการมีการออกแบบและใช้บทเรียนสะเต็มศึกษาที่สะท้อนความคิดแบบเมกเกอร์ทั้ง 6 ด้านครบทั้ง 3 แผน จำนวน 4 คน โดยด้านการเรียนรู้วิธีการเรียนรู้ (Learn) จะพบได้ในทุกแผนกิจกรรมของครูก่อนประจำการ และด้านที่พบน้อยที่สุดคือ ด้านการรับรู้ความสามารถของตนเอง (Self-efficacy)en_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
จตุทิพย์ ก๋ายะ 590252025.pdf3.72 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.