Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78788
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอดิศักดิ์ ธีรานุพัฒนา-
dc.contributor.authorประสิทธิ์ หันหวลen_US
dc.date.accessioned2023-09-09T02:49:36Z-
dc.date.available2023-09-09T02:49:36Z-
dc.date.issued2023-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78788-
dc.description.abstractThe purpose of this research was to study consumer behavior towards purchasing government lottery tickets in Thailand. A convenience sampling method was used for 385 former consumers who had purchased government lottery tickets without controlling the proportion of the sample group responding to questionnaires between consumers who had purchased paper-based and online government lottery tickets. The sample size was 229 paper government lottery buyers and 156 online government lottery buyers. Data were analyzed with descriptive statistics, including frequency, percentage, average score, standard deviation, Chi-squared test, and independent sample t-test. The results show that the purchasing behavior of paper and online government lottery tickets is similar. However, the average periodic cost of buying paper lottery tickets was 201-400 baht, higher than the average periodic cost of online lottery ticket buyers of 321 baht, while online government lottery buyer buy them 10 days in advance of the draw date, which is longer than that of to paper government lottery buyer 1-4 days prior the draw date. And the comparison of results of consumer behavior in choosing to purchase paper and online government lottery tickets found that there was a significant statistical difference at the .05 level in the behavior of purchasing lottery number on each occasion, also the behavior of purchasing tickets in advance before the draw date was a significant statistical difference at the .01 level.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleพฤติกรรมของผู้บริโภคในการเลือกซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeConsumer behavior towards purchasing government lottery in Thailanden_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashสลากกินแบ่ง-
thailis.controlvocab.thashสลากกินแบ่งรัฐบาล-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภคในการเลือกซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลในประเทศไทย ประชากร คือ ผู้บริโภคที่เคยซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลในประเทศไทย ใช้วิธีการเลือกตัวอย่างตามสะดวกเฉพาะผู้บริโภคที่เคยซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล จำนวน 385 คน โดยไม่ควบคุมสัดส่วนของกลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามระหว่างผู้บริโภคที่เคยซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลแบบกระดาษและแบบออนไลน์ ได้ขนาดตัวอย่างผู้ซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลแบบกระดาษ 229 คน และแบบออนไลน์ 156 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติอ้างอิง ได้แก่ Chi Square Test และ Independent Samples t-test ผลการศึกษา พบว่า พฤติกรรมการเลือกซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลแบบกระดาษและแบบออนไลน์ มีลักษณะพฤติกรรมที่คล้ายคลึงกัน อย่างไรก็ดี ค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ยต่องวดในการเลือกซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลแบบกระดาษอยู่ที่ 201-400 บาท ซึ่งสูงกว่าค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ยต่องวดของผู้ซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลแบบออนไลน์ที่ 321 บาท ในขณะที่ช่วงเวลาแต่ละงวดที่ซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลแบบออนไลน์จะซื้อล่วงหน้า 10 วันก่อนวันออกรางวัล ซึ่งนานกว่าผู้ซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลแบบกระดาษที่จะซื้อ 1 ถึง 4 วันก่อนวันออกรางวัล และผลการเปรียบเทียบพฤติกรรมของผู้บริโภคในการเลือกซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลแบบกระดาษและแบบออนไลน์ พบว่ามีพฤติกรรมการเลือกซื้อเลขสลากด้วยเลขประจำในแต่ละงวด แตกแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 รวมทั้งมีพฤติกรรมการซื้อสลากล่วงหน้าก่อนวันออกรางวัล แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
641532138 ประสิทธิ์ หันหวล.pdf11.72 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.