Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78772
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorManad Khamkong-
dc.contributor.advisorLampang Saenchan-
dc.contributor.advisorNapon Hongsakulvasu-
dc.contributor.authorAsama Liammukdeen_US
dc.date.accessioned2023-09-03T10:39:13Z-
dc.date.available2023-09-03T10:39:13Z-
dc.date.issued2022-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78772-
dc.description.abstractIn this dissertation, we study about application of time-varying approaches to a financial model. In the first study, we investigated the appropriate statistic criteria for selecting the time-varying coefficient model. The Monte Carlo simulation created the time-invariant and time-varying coefficient data set based on the regression equation. We compared a statistical criteria performance between the time-invariant and time-varying coefficient model to find the statistical criteria that choose the time-varying coefficient model. We found that log-Likelihood (InL), Mean Absolute Deviation (MAD), and Root Mean Squared Error (RMSE) are the appropriate statistical criteria in the model selection method for the time-varying coefficient model. In the second study, we applied the Fama - French five-factor model (FF5 model) by using the time-varying coefficient model to show changing relationships between risks and portfolio return over time; the new model called the time-varying coefficient Fama - French five-factor model (TV-FF5 model). We used monthly returns and risk premium data of the U.S. and Japan portfolios from July 1963 to April 2020 and from July 1990 to April 2020. As a result, we showed a changing relationship between risks and portfolio return over time. Next, we used a residual from the TV-FF5 model to show time-varying volatility by using the GARCH(1,1) and GJR-GARCH(1, 1) models.In the tired study, we applied the Google Trend to show the effect of investor panic in an economic crisis on U.S. portfolio volatility by using the FF5 and GARCH(1,1) model. The economic crisis in these studies was the China-US trade war, COVID-19, and oil prices. First data set, we used monthly data of the U.S. portfolios and Google Trends from 1 November 2019 to 30 April 2020. We showed that the percentage change in the trend of COVID-19 would affect the volatility of Small neutral (SM) Big value (BL) and Big growth (BH).en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleApplication of time-varying approaches to a financial modelen_US
dc.title.alternativeการประยุกต์ใช้วิธีการแปรผันตามเวลากับตัวแบบทางการเงินen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshStatistics-
thailis.controlvocab.lcshStock exchanges-
thailis.controlvocab.lcshMonte carlo method-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractปริญญานิพนธ์ฉบับนี้ได้ทำการศึกษาการประยุกต์ใช้วิธีการแปรผันตามเวลากับตัวแบบทาง การเงิน การศึกษาแรกคือการหาเกณฑ์ทางสถิติที่เหมาะสมในขั้นตอนการเลือกตัวแบบสำหรับตัวแบบ ค่าสัมประสิทธิ์ผันแปรตามช่วงเวลา การศึกษานี้ใช้การจำลองมอนติคาร์โลในการสร้างข้อมูลที่มี สัมประสิทธิ์ไม่ผันแปรตามช่วงเวลาและสัมประสิทธิ์ผันแปรตามช่วงเวลาบนสมการของการวิเคราะห์ การถดถอยพหุคูณเพื่อทำการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเกณฑ์ทางสถิติ จากผลการศึกษาพบว่า ค่าล็อกภาวะน่าจะเป็น (log-Likelihood: InL.) ค่าความคลาดเคลื่อนสัมบูรณ์เฉลี่ย (Mean Absolute Deviation: MAD) และรากที่สองของค่าความคลาดเคลื่อนกำลังสองเฉลี่ย (Root Mean Squared Error: RMSE) เป็นเกณฑ์ทางสถิติที่เหมาะสมในขั้นตอนการเลือกตัวแบบสำหรับตัวแบบค่าสัมประสิทธิ์ผัน แปรตามช่วงเวลา การศึกษาที่สองคือการประยุกต์ตัวแบบค่าสัมประสิทธิ์ผันแปรตามช่วงเวลาเพื่อประมาณค่า สัมประสิทธิ์ผันแปรตามช่วงเวลาของตัวแบบ Fama - French ห้าปัจจัย เพื่อทำการอธิบายพลวัต ผลตอบแทนของพอร์ตโฟลิโอโดยใช้ข้อมูลรายเดือนจากตลาดหลักทรัพย์สหรัฐอเมริกาช่วง กรกฎาคม 250 ถึงเมษายน 2563 และข้อมูลตลาดหลักทรัพย์ของญี่ปุ่นช่วงกรกฎาคม 2533 ถึงมษายน 2563 จากผลลัพธ์ที่ได้ สามารถตรวจจับความสัมพันธ์ที่เปลี่ยนแปลงไปในช่วงเวลาล่วงเวลาของห้า ปัจจัยความเสี่ยงต่อผลตอบแทนของพอร์ตโฟลิโอและได้ทำการประยุกต์ใช้ตัวแบบ GARCH 1,1) และ GIR-GARCH (1,1) ในการแสดงความผันผวนของพอร์ตโฟลิโอการศึกษาที่สามคือการประยุกต์ Google Trend ในการแสดงผลกระทบของความตื่นตระหนก ของนักลงทุนในวิกฤตเศรษฐกิจต่อความผันผวนของพอร์ตโฟลิโฮสหรัฐอเมริกาโดยใช้ตัวแบบ Fama - French ห้าปัจจัย และตัวแบบ GARCH (1, 1) โดยวิกฤตเศรษฐกิจที่ทำการศึกษานี้ ได้แก่ สงคราม การค้าระหว่างจีนกับสหรัฐอเมริกา COVID-19 และสงครามราคาน้ำมัน ข้อมมูลที่ใช้ในการศึกษาเป็น ข้อมูลรายวัน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2562 ถึง 30 เมษาขน 2564 จากผลการศึกษาพบว่าร้อยละการ เปลี่ยนแปลงของ Google Trend ในหัวข้อ COVID-19 จะส่งผลต่อความผันผวนของพอร์ตโฟลิโอ Small neutral (SM) Big value (BL) และ Big growth (BH)en_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620551011 อสมา เหลี่ยมมุกดา.pdf4.18 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.