Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78756
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทรงยศ กิจธรรมเกษร | - |
dc.contributor.author | เทวิษฎ์ ขันติอยู่ | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-08-30T00:46:49Z | - |
dc.date.available | 2023-08-30T00:46:49Z | - |
dc.date.issued | 2023-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78756 | - |
dc.description.abstract | The development of technology in public transportation, such as autonomous vehicles and advanced communication systems, has been leveraged to create Autonomous Modular Public Transit (AMPT). AMPT is a modern and flexible public transportation system that enhances operational efficiency. However, the increased complexity in management poses challenges, particularly in determining the Minimum Fleet Size (MFS) required for AMPT to operate at maximum efficiency. To address this issue, researchers have utilized the Deficit Function, an optimization problem represented graphically, to analyze and find the minimum number of vehicles needed for efficient public transportation services and also illustrate the activities occurring during different time intervals of service, empowering system managers to work more efficiently with data and improve overall system performance. However, the traditional Deficit Function may not be directly applicable to the AMPT system due to its modular nature and the ability to change modules during service. In this research, a Developed Deficit Function has been proposed, building upon the Extended Deficit Function, to address the specific challenges of the Autonomous Modular Public Transit (AMPT) system. The AMPT system allowed flexibility to interchange modules during the service, which is the key factor in this research. The Developed Deficit Function has been designed to apply to the AMPT system called Dynamic Autonomous Road Transit or DART which is developed by TUMCREATE. In this study, the Chiang Mai University mass transit network was used in the research. The results demonstrated the effectiveness of the Developed Deficit Function. The function is adaptable to module configurations of DART in route changing was adopted to the case study and efficiently reduced the number of vehicles required during specific time periods. This outcome demonstrated that the Developed Deficit Function has significantly contributed to improving the efficiency of the AMPT system's service provision in the case study network. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การพัฒนาฟังก์ชันเดฟิซิตสำหรับระบบขนส่งสาธารณะไร้คนขับแบบโมดูล | en_US |
dc.title.alternative | Deficit function development for autonomous modular public transit | en_US |
dc.type | Thesis | - |
thailis.controlvocab.thash | ยานยนต์อัจฉริยะ | - |
thailis.controlvocab.thash | ยานพาหนะ | - |
thailis.controlvocab.thash | การขนส่งมวลชน | - |
thailis.controlvocab.thash | การขนส่ง | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การพัฒนาของเทคโนโลยีระบบขนส่งสาธารณะสามารถยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้คนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น ด้วยเทคโนโลยียานยนต์ไร้คนขับผนวกกับการสื่อสารที่มีความรวดเร็วและแม่นยำมากขึ้น เทคโนโลยีเหล่านี้ถูกนำมาพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะ โดยหนึ่งในรูปแบบที่ได้รับความสนใจคือ ระบบขนส่งสาธารณะไร้คนขับแบบโมดูล (Autonomous Modular Public Transit; AMPT) หรือ เอเอ็มพีที ที่มีความทันสมัยและมีความยืดหยุ่นในการให้บริการด้านการดำเนินงาน แต่แลกมาด้วยความซับซ้อนในการจัดการที่มากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะปัญหาในด้านการหาจำนวนยานพาหนะขั้นต่ำที่ต้องใช้ในการให้บริการ (Minimum Fleet size; MFS) เอเอ็มพีทีให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ในงานวิจัยนี้ได้เลือกฟังก์ชันเดฟิซิต (Deficit Function) ในการคำนวณหาจำนวนยานพาหนะขั้นต่ำที่ต้องใช้ในการให้บริการ โดยผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาในรูปแบบกราฟฟิกที่เข้าใจง่าย ฟังก์ชันเดฟิซิตมีพื้นฐานจากปัญหาการเพิ่มประสิทธิภาพ (Optimization Problem) ที่สามารถวิเคราะห์หาจำนวนยานพาหนะในการให้บริการของระบบขนส่งสาธารณะและแสดงถึงกิจกรรมที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลาภายในระบบ ช่วยให้ผู้ที่ใช้ข้อมูลในการจัดการระบบสามารถทำงานได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และด้วยการมาถึงของเอเอ็มพีที ทำให้ฟังก์ชันเดฟิซิตรูปแบบดั้งเดิมไม่สามารถคำนวณหาจำนวนยานพาหนะขั้นต่ำได้ ในงานวิจัยจึงเสนอฟังก์ชันเดฟิซิตที่ถูกพัฒนา (Developed Deficit Function) โดยเป็นการต่อยอดจากฟังก์ชันเดฟิซิตแบบขยาย (Extended Deficit Function) ให้สามารถใช้กับการให้บริการรูปแบบเอเอ็มพีทีที่มีลักษณะการให้บริการที่สามารถเปลี่ยนเส้นทางของโมดูลระหว่างการให้บริการ ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญของการพัฒนาในงานวิจัยนี้ รวมถึงเพิ่มหรือลดความจุให้สอดคล้องกับความต้องการเดินทางในแต่ละช่วงเวลา จากกรณีศึกษาโครงข่ายระบบขนส่งสาธารณะภายในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ที่มีรูปแบบการให้บริการเอเอ็มพีทีที่กำลังถูกพัฒนาโดย TUMCREATE คือ ระบบขนส่งอัตโนมัติบนท้องถนนแบบไดนามิก (Dynamic Autonomous Road Transit; DART) หรือ ดีเออาร์ที พบว่าฟังก์ชันเดฟิซิตที่ถูกพัฒนาสามารถนำไปใช้กับเอเอ็มพีทีในรูปแบบของดีเออาร์ที กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงเส้นทางของโมดูลระหว่างการให้บริการได้ และสามารถลดจำนวนยานพาหนะที่ใช้ในการให้บริการในบางช่วงเวลาของกรณีศึกษา | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
630631037 เทวิษฎ์ ขันติอยู่.pdf | 2.4 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.