Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78755
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกรุณา รักษวิณ-
dc.contributor.authorธญา วุฒิมานพen_US
dc.date.accessioned2023-08-30T00:41:24Z-
dc.date.available2023-08-30T00:41:24Z-
dc.date.issued2023-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78755-
dc.description.abstractThis research proposes a solution to address environmental and safety challenges along the access route to Khao San Road, using Crime Prevention Through Environmental Design (CPTED). High crime rates and a deteriorating environment have raised security concerns. Four study routes from Khao San Road to nearby bus stops were selected due to similar problems. The study employed a modified CPTED area assessment form developed by the National Crime Prevention Council (NCPC) in Singapore, adapted to the study path's context. Empirical evidence, including photographs, supported the evaluation of the study area. The assessment covered six key factors: 1) Sight lines and lighting, 2) Isolated routes and Entrapment areas, 3) Ownership maintenance and management, 4) Activity, 5) Signage, information, and help centers, and 6) The overall environment. Simulated designs aligned with CPTED were presented to address the identified problems across the four routes. The proposed solutions encompass: 1) Enhancing natural surveillance, 2) Installing Road signs and information boards, 3) Implementing CCTV systems for increased visibility, 4) Introducing warning signs and public emergency telephones, 5) Improving lighting infrastructure, 6) Incorporating art installations for increased activity, 7) Prioritizing regular maintenance, 8) Displaying warning signs indicating CCTV operation, and 9) Introducing non-obstructive aesthetic elements. By adhering to CPTED principles and addressing these challenges, the proposed solutions aim to create a safer, more inviting, and sustainable environment along Khao San Road's access route. This study's findings and recommendations can guide urban planners, policymakers, and community stakeholders in enhancing safety and security while fostering a thriving urban space.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการออกแบบเพื่อปรับปรุงตรอกทางเดินเชื่อมสู่ถนนข้าวสารด้วยการออกแบบสภาพแวดล้อมทางกายภาพen_US
dc.title.alternativeThe Design for physical development of alleys to Khao San Road by crime prevention through environmental design (CPTED)en_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.thashถนนข้าวสาร-
thailis.controlvocab.thashถนน -- แง่เศรษฐกิจ-
thailis.controlvocab.thashถนน -- การออกแบบและการสร้าง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอแนวทางแก้ปัญหาสภาพแวดล้อมของเส้นทางเข้าถึงถนนข้าวสารด้วยหลักคิดการออกแบบสภาพแวดล้อมทางกายภาพ หรือ Crime Prevention Through Environmental Design (CPTED) เนื่องด้วยถนนข้าวสารมีรายงานการเกิดอาชญากรรมสูง และเส้นทางเข้าสู่ถนนข้าวสารมีปัญหาด้านสภาพแวดล้อมที่เสื่อมโทรม อาจนำมาสู่ปัญหาด้านความปลอดภัย จึงได้เลือกเส้นทางศึกษา 4 เส้นทาง ทั้งหมดล้วนเป็นเส้นทางจากถนนข้าวสารนำไปสู่ป้ายรถประจำทางโดยรอบ และทุกเส้นทางมีปัญหาด้านสภาพแวดล้อมเหมือนกัน จึงได้นำเอาแบบประเมินพื้นที่ตามหลัก CPTED ที่จัดทำโดยหน่วยงาน National Crime Prevention Council (NCPC) ประเทศสิงคโปร์ ประเมินพื้นที่ศึกษา มีการปรับปรุงแบบประเมินของ NCPC ให้เข้ากับบริบทของเส้นทางศึกษา และนำแบบประเมินฉบับปรับปรุงแล้วไปประเมินพื้นที่ศึกษาอีกครั้ง พร้อมทั้งแสดงหลักฐานเชิงประจักษ์ให้เห็นถึงปัญหา โดยสามารถสรุปผลการประเมินได้ 6 หัวข้อ ได้แก่ 1) ทัศนวิสัยและไฟส่องสว่าง 2) ทางเปลี่ยว และพื้นที่ดักซุ่ม-สุ่มเสี่ยง 3) ความเป็นเจ้าของ การบำรุงรักษา และ การจัดการ 4) พื้นที่กิจกรรม 5) ป้ายบอกทาง ข้อมูล และศูนย์ให้ความช่วยเหลือ และ 6) สภาพแวดล้อมโดยรวม เมื่อได้ผลการประเมินซึ่งเป็นภาพถ่ายเชิงประจักษ์แล้ว จึงนำภาพเหล่านั้นมาจำลองการแก้ไขปัญหา โดยการออกแบบทัศนียภาพให้มีความสอดคล้องกับหลักคิด CPTED ซึ่งเส้นทางศึกษาทั้ง 4 มีลักษณะของปัญหาที่คล้ายคลึงกัน จึงสามารถจัดทำรูปแบบสำหรับแก้ไขปัญหา ได้ดังนี้ 1) เพิ่มการเฝ้าระวังตามธรรมชาติ 2) เพิ่มป้ายบอกทางและข้อมูล 3) เพิ่ม CCTV เพื่อเพิ่มทัศนวิสัย 4) เพิ่มสัญญาณเตือนภัย และโทรศัพท์ฉุกเฉินสาธารณะ 5) เพิ่มแสงสว่าง และการป้องกันดวงโคม 6) เพิ่มงานศิลปะเพื่อเพิ่มกิจกรรม 7) บำรุงรักษาเส้นทางให้อยู่ในสภาพดี 8) เพิ่มป้ายแจ้งเตือนต่าง ๆ เช่น การทำงานของ CCTV 9) เพิ่มองค์ประกอบเพื่อความสวยงามโดยไม่บดบังทัศนวิสัยen_US
Appears in Collections:ARC: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
641731010 Thaya Wuttimanop.pdf79.09 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.