Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78751
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาสกร เตวิชพงศ์-
dc.contributor.authorกรกนก ชีหรั่งen_US
dc.date.accessioned2023-08-29T13:37:46Z-
dc.date.available2023-08-29T13:37:46Z-
dc.date.issued2566-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78751-
dc.description.abstractThe main objectives of this research were to (1) study the relationship between workplace ostracism and turnover intention of service employees within Chiang Mai province, and (2) examine the role of psychological capital as a moderating variable towards the relationship between workplace ostracism and turnover intention of service employees within Chiang Mai province. The sample of 400 employees operating in service businesses within Chiang Mai province, the sample group were selected by convenience sampling. The measures used in this research consisted of (1) Turnover intention Scale, (2) Workplace Ostracism Scale, (3) Psychological Capital Questionnaire (PCQ), and (4) a demographic questionnaire. The data were analyzed using the Pearson Correlation Coefficient analysis and for testing a moderating variable using Multiple Regression analysis with Process Macro program (Model 1) method by Hayes (2018). The results showed that workplace ostracism was significantly positive correlated with turnover intention of service employees within Chiang Mai province (p < .01) and psychological capital could not play a significant moderating role on the relationship between workplace ostracism and turnover intention.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความตั้งใจในการลาออกจากงานen_US
dc.subjectการถูกคว่ำบาตรในสถานที่ทำงานen_US
dc.subjectทุนทางจิตวิทยาen_US
dc.subjectพนักงานธุรกิจบริการen_US
dc.subjectธุรกิจบริการจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการถูกคว่ำบาตรในสถานที่ทำงานกับความตั้งใจในการลาออกจากงานของพนักงานธุรกิจบริการในจังหวัด เชียงใหม่ : บทบาทการเป็นตัวแปรปรับของทุนทางจิตวิทยาen_US
dc.title.alternativeRelationship between workplace ostracism and turnover intention of service employees in Chiang Mai province: the moderating role of psychological capitalen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashพนักงานบริการ -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashพนักงานบริการ -- การลาออก-
thailis.controlvocab.thashจิตวิทยาการทำงาน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการคือ (1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการถูกคว่ำบาตรในสถานที่ทำงานและความตั้งใจในการลาออกจากงานของพนักงานในธุรกิจบริการในจังหวัดเชียงใหม่ (2) เพื่อศึกษาบทบาทของทุนทางจิตวิทยาในฐานะตัวแปรปรับที่มีต่อความสัมพันธ์ระหว่างการถูกคว่ำบาตรในสถานที่ทำงานกับความตั้งใจในการลาออกจากงานของพนักงานธุรกิจบริการในจังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัยในครั้งนี้คือ พนักงานในธุรกิจบริการในจังหวัดเชียงใหม่จำนวน 400 คน โดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบตามสะดวก (Convenience Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) แบบวัดเกี่ยวกับความตั้งใจในการลาออกจากงาน (2) แบบวัดเกี่ยวกับการถูกคว่ำบาตรในสถานที่ทำงาน (3) แบบวัดเกี่ยวกับทุนทางจิตวิทยา และ (4) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการหาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณสำหรับการศึกษาตัวแปรปรับ (Moderation Analysis) ด้วยโปรแกรม PROCESS Macro (Model 1) ของ Hayes (2018) ผลการวิจัยพบว่า การถูกคว่ำบาตรในสถานที่ทำงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความตั้งใจในการลาออกจากงานของพนักงานธุรกิจบริการในจังหวัดเชียงใหม่อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01) และทุนทางจิตวิทยาไม่สามารถเป็นตัวแปรปรับต่อความสัมพันธ์ระหว่างการถูกคว่ำบาตรในสถานที่ทำงานและความตั้งใจในการลาออกจากงานของพนักงานธุรกิจบริการในจังหวัดเชียงใหม่ได้อย่างมีนัยสำคัญen_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610132028_กรกนกชีหรั่ง-1.pdf1.04 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.