Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78748
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorLadapha Ladachart-
dc.contributor.advisorSutthikan Tipayakesorn-
dc.contributor.advisorKreetha Kaewkhong-
dc.contributor.authorThidarat Prommaen_US
dc.date.accessioned2023-08-29T13:28:53Z-
dc.date.available2023-08-29T13:28:53Z-
dc.date.issued2023-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78748-
dc.description.abstractThe purposes of this study were to: 1) Investigate the understanding of the biological concepts of genetics among pre-service general science teachers; 2) Research on the learning progression of the biological concepts of Genetics of pre-service general science teachers; 3) Examine the understanding of Genetics concepts among pre-service general science teachers after learning through learning progression-based instruction. 42 sophomores of pre-service teachers in the general science program of the faculty of education consisting of 5 male students and 37 female students were the study group. This is qualitative research which was divided into 3 phases according to the research objectives. The data were collected using 4 research tools consisting of the conceptual understanding of Genetics test, an individual semi-structured interview, course analysis form, gene expression intervention program, and learning behavior observational form. The data were analyzed by content analysis and grouping concepts. The research results are summarized as follows: 1) Before learning through learning progression-based instruction, general science pre-service teachers have alternative understanding (AC) of the biological concepts of genetics at the highest among protein synthesis, proteins and traits and effects of genetic changes were 66.67%, 40.47%, and 61.91%, respectively. Partial understanding with specific alternative conception (PS) about all cells have genetic information and the relationship between genetic material were 78.57 and 69.04%, respectively. 2) Learning progression in biology about genetics concept of pre-service general science teachers can be grouped into 3 core concepts and 9 sub-concepts according to the level of lower anchor, intermediate anchor, and upper anchor according to the sophisticated genetics concept. A set of descriptions of learning progression for pre-service general science teachers was constructed and can be designed gene expression intervention program based on the learning progression of general science pre-service teachers, respectively which can be summarized into 3 gene expression intervention programs. The result of observing the learning behavior of general science pre-service teachers was found that pre-service teachers can explain their knowledge based on pictures and models. They can describe the process of gene expression step by step and can answer questions according to learning activities. 3) After learning progression-based instruction, general science pre-service teachers have a complete understanding (CU) of the biological concepts of genetics at the highest among all cells have genetic information and proteins and traits were 97.62% and 41.43%, respectively. Partial understanding (PU) of the relationship between genetic material was 38.10%. Partial understanding with specific alternative conception (PS) of protein synthesis was 51.14%. Alternative understanding (AC) at the highest in effect of genetic changes was 35.72%. The comparison of the understanding of biological concepts in genetics on general science pre-service teachers before and after learning progression-based instruction was found that general science pre-service teachers had an increasing level of complete understanding (CU) and a decreasing level of the alternative understanding (AC) in all concepts. The results shown that general science pre-service teachers can change the level of conceptual understanding in genetics from alternative understanding to complete understanding after learning through learning progression-based instruction. Therefore, the order of content in the curriculum of instruction at all levels of education should have related concepts arranged according to the concepts of pre-service teachers that can reduce redundancy in content and to develop pre-service teachers to be able to comprehend and relate knowledge to each level of concept.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleDevelopment of pre-service general science teachers’ understanding of genetics through learning progression-based instructionen_US
dc.title.alternativeการพัฒนาความเข้าใจเรื่องพันธุศาสตร์ของนักศึกษาครูวิทยาศาสตร์ทั่วไปโดยการจัดการเรียนการสอนที่อิงความก้าวหน้าในการเรียนรู้en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashScience Teachers-
thailis.controlvocab.thashScience -- Instruction and study-
thailis.controlvocab.thashGenetics -- Instruction and study-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเข้าใจแนวคิดทางชีววิทยาเรื่องพันธุศาสตร์ของนักศึกษาครูวิทยาศาสตร์ทั่วไป 2) เพื่อศึกษาความก้าวหน้าในการเรียนรู้ทางชีววิทยาเรื่องพันธุศาสตร์ของนักศึกษาครูวิทยาศาสตร์ทั่วไป 3) เพื่อศึกษาความเข้าใจแนวคิดทางชีววิทยาเรื่องพันธุศาสตร์ของนักศึกษาครูวิทยาศาสตร์ทั่วไปหลังจากที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนที่อิงความก้าวหน้าในการเรียนรู้ กลุ่มที่ศึกษา คือ นักศึกษาคณะครุศาสตร์ โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป ชั้นปีที่ 2 จำนวน 42 คน เป็นนักศึกษาชาย 5 คน นักศึกษาหญิง 37 คน การวิจัยนี้เป็นวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยดำเนินการวิจัย แบ่งเป็น 3 ระยะ ตามวัตถุประสงค์การวิจัย ทำการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยเครื่องมือวิจัยประกอบด้วย แบบวัดความเข้าใจแนวคิดเรื่องพันธุศาสตร์ร่วมกับการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างเป็นรายบุคคล แบบวิเคราะห์หลักสูตร แผนงานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่อิงความก้าวหน้าในการเรียนรู้เรื่องการแสดงออกของยีน แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาและจัดกลุ่มแนวคิด ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) ก่อนการจัดการเรียนการสอนที่อิงความก้าวหน้าในการเรียนรู้ นักศึกษาครูวิทยาศาสตร์ทั่วไปมีความเข้าใจแนวคิดทางชีววิทยาเรื่องพันธุศาสตร์ในระดับความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน (AC) สูงที่สุดในเรื่องกระบวนการสังเคราะห์โปรตีน โปรตีนกับลักษณะที่แสดงออก และผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงยีน โดยมีจำนวนร้อยละ 66.67 40.47 และ 61.91 ตามลำดับ และมีความเข้าใจแนวคิดทางชีววิทยาในระดับสมบูรณ์บางส่วนและแนวคิดคลาดเคลื่อน (PS) สูงที่สุดใน เรื่องสารพันธุกรรมในเซลล์ และความสัมพันธ์ระหว่างสารพันธุกรรม โดยมีจำนวนร้อยละ 78.57 และ 69.04 ตามลำดับ 2) นักศึกษาครูวิทยาศาสตร์ทั่วไปมีความก้าวหน้าในการเรียนรู้ทางชีววิทยาเรื่องพันธุศาสตร์โดยสามารถจัดกลุ่มแนวคิดเป็น 3 แนวคิดหลัก และ 9 แนวคิดย่อยไปตามระดับของแนวคิดระดับล่าง แนวคิดระดับกลาง และแนวคิดระดับบน ตามความซับซ้อนของแนวคิด ซึ่งจากการเรียงเนื้อหาที่ซับซ้อนน้อยไปยังเนื้อหาที่มีความซับซ้อนมากขึ้นได้เป็นชุดคำบรรยายความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของนักศึกษาครูวิทยาศาสตร์ทั่วไป และสามารถนำไปออกแบบแผนงานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่อิงความก้าวหน้าในการเรียนรู้เรื่องการแสดงออกของยีน ได้ 3 แผนงาน โดยผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักศึกษาครูพบว่า กิจกรรมการเรียนรู้ช่วยพัฒนาแนวคิดของนักศึกษาครูตามความก้าวหน้าในการเรียนรู้เรื่องพันธุศาสตร์ได้ 3) หลังการจัดการเรียนการสอนที่อิงความก้าวหน้าในการเรียนรู้ นักศึกษาครูวิทยาศาสตร์ทั่วไปมีระดับความเข้าใจในแนวคิดพันธุศาสตร์ในแต่ละแนวคิด โดยมีระดับความเข้าใจแบบสมบูรณ์ (CU) สูงที่สุด ในเรื่อง สารพันธุกรรมในเซลล์ และโปรตีนกับลักษณะที่แสดงออก โดยมีจำนวนร้อยละ 97.62 และ 41.43 ตามลำดับ มีระดับความเข้าใจแบบสมบูรณ์บางส่วน (PU) สูงที่สุด ใน เรื่องความสัมพันธ์ระหว่างสารพันธุกรรม โดยมีจำนวนร้อยละ 38.10 มีระดับความเข้าใจแบบสมบูรณ์บางส่วนและแนวคิดคลาดเคลื่อน (PS) สูงที่สุดใน เรื่องกระบวนการสังเคราะห์โปรตีน มีจำนวนร้อยละ 51.14 และ มีระดับความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน (AC) สูงที่สุดในเรื่อง ผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงยีน โดยมีจำนวนร้อยละ 35.72 และเมื่อเปรียบเทียบความเข้าใจแนวคิดทางชีววิทยาเรื่องพันธุศาสตร์นักศึกษาครูวิทยาศาสตร์ทั่วไปมีก่อนและหลังการจัดการเรียนการสอนที่อิงความก้าวหน้าในการเรียนรู้ พบว่า นักศึกษาครูมีระดับความเข้าใจแบบสมบูรณ์ (CU) เพิ่มมากขึ้น และมีความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน (AC) ลดน้อยลงในทุกแนวคิด จากผลการวิจัยพบว่า หลังการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่อิงความก้าวหน้าในการเรียนรู้ นักศึกษาครูสามารถเปลี่ยนแปลงระดับความเข้าใจแนวคิดในเนื้อหาพันธุศาสตร์จากความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนไปสู่ความเข้าใจที่สมบูรณ์ได้ ดังนั้นการจัดลำดับเนื้อหาในหลักสูตรการเรียนการสอนในทุกระดับการศึกษาควรมีแนวคิดที่เชื่อมโยงสัมพันธ์กันโดยร้อยเรียงตามความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อการลดความซ้ำซ้อนในเนื้อหา และเพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจและเชื่อมโยงความรู้ไปทีละระดับได้en_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ธิดารัตน์ พรหมมา 590252029.pdf3.53 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.