Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78744
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพฤกษ์ อักกะรังสี-
dc.contributor.authorอัฑฒ์ จันตบุตรen_US
dc.date.accessioned2023-08-29T13:14:07Z-
dc.date.available2023-08-29T13:14:07Z-
dc.date.issued2566-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78744-
dc.description.abstractThe objective of this research is to investigate an alternative approach in producing activated carbon from corncob through single stage physical-chemical activation using phosphoric acid and carbon dioxide as assistive agents. The combined pyrolysis and activation process are studied by varying temperature between 600 and 800 oC and time between 2- and 4-hours activation period. The results confirm expectations in terms of product yield and physical properties with optimal condition of 0.1 molar acid concentration at 800 oC temperature and 2 hours retention period. The produced substance yields BET surface area of 825.72 m2/g with Iodine number of 546.76 mg/g which is well in range of commercial grade activated carbon available in Thailand.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการผลิตถ่านกัมมันต์จากซังข้าวโพดโดยการก่อกัมมันต์ร่วมด้วยกรดฟอสฟอริกและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์en_US
dc.title.alternativeProduction of activated carbon from corncob by combined phosphoric acid and carbon dioxide activationen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashซังข้าวโพด-
thailis.controlvocab.thashคาร์บอนกัมมันต์-
thailis.controlvocab.thashกรดฟอสฟอริก-
thailis.controlvocab.thashคาร์บอนไดออกไซด์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางวิธีการผลิตถ่านกัมมันต์ที่มีพื้นที่ผิวสูงจากซังข้าวโพดด้วยกระบวนการไพโรไลซิส โดยผ่านการก่อกัมมันต์ทางเคมีด้วยกรดฟอสฟอริกและก่อกัมมันต์ทางกายภาพด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ โดยได้ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อสภาวะการก่อกัมมันต์ ได้แก่ อุณหภูมิของกระบวนการไพโรไลซิสและการก่อกัมมันต์ที่ 600 700 และ 800 องศาเซลเซียส เวลาที่ใช้ในการให้ความร้อนของกระบวนการไพโรไลซิสที่ 0-4 ชั่วโมง และเวลาที่ใช้ในการก่อกัมมันต์ที่ 2 ชั่วโมง จากการศึกษาพบว่าผลผลิตของถ่านกัมมันต์จากซังข้าวโพดที่ได้จากกระบวนการไพโรไลซิสและผ่านการก่อกัมมันต์ได้ผลผลิตร้อยละ 36.82-50.92 ของน้ำหนัก สภาวะที่เหมาะสมสำหรับการผลิตถ่านกัมมันต์จากซังข้าวโพดเมื่อใช้กรดฟอสฟอริกความเข้มข้น 0.1 โมลาร์ เป็นสารกระตุ้นทางเคมี และผ่านกระบวนการไพโรไลซิสที่อุณหภูมิ 800 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 2 ชั่วโมง และผ่านการก่อกัมมันต์ทางกายภาพด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่อุณหภูมิเดียวกันเป็นเวลา 2 ชั่วโมง ที่สภาวะดังกล่าวได้ถ่านกัมมันต์ที่มีค่าพื้นที่ผิว BET เท่ากับ 825.72 ตารางเมตรต่อกรัม และค่าความสามารถในการดูดซับไอโอดีนสูงสุดเท่ากับ 546.76 มิลลิกรัมต่อกรัม นอกจากนี้อาจได้ผลิตภัณฑ์ที่มีค่าพื้นที่ผิว BET สูงถึง 1,219.04 ตารางเมตรต่อกรัม การก่อกัมมันต์ทางเคมีด้วยกรดฟอสฟอริกและกายภาพด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มีผลต่อโครงสร้างลักษณะ พื้นที่ผิวและรูพรุนของผลิตภัณฑ์ถ่านกัมมันต์จากซังข้าวโพดที่ได้en_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610631053 อัฑฒ์ จันตบุตร.pdf19.12 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.