Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78730
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิสัยศิษฏ์ ชัยจรีนนท์-
dc.contributor.advisorพัชราวรรณ ศีลธรรมพิทักษ์-
dc.contributor.authorปรินทร์ เจียระนันท์en_US
dc.date.accessioned2023-08-28T14:07:57Z-
dc.date.available2023-08-28T14:07:57Z-
dc.date.issued2021-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78730-
dc.description.abstractPurpose: The purposes of this study were to investigate the quantity of residual sulfuric acid and hydrophilicity of sulfonated-PEEK after different surface cleaning techniques. Materials and Methods: A PEEK group and five other etched-PEEK(SPEEK) groups were cleaned with five various techniques; deionized water immersion, ultrasonic-immersion in deionized water, pure acetone, 6%wt sodium hydroxide (NaOH) and 10% cocamido propyl betain solution (CAPB). The quantity of residual sulfuric acid were examined using spectrophotometer. Contact angle measurement was done with goniometer. Fourier Transform Infrared Spectroscopy (FTIR) analysis was applied to investigate the specific chemical characteristic. One-way ANOVA following by Tukey's multiple comparisons were tested (p < 0.05). Results: The results revealed that pure acetone immersion significantly showed the lowest turbidity (p < 0.001). ATR-FTIR confirmed the present of sulfonate groups in SPEEK specimens after cleaning. The most hydrophilic group was ultrasonic immersion but not significantly different from other groups in SPEEK (p>0.05). reserved Conclusions: In conclusion, pure acetone immersion was the most effective method in removing residual sulfuric acid. Further cleaning techniques exhibited the same hydrophilicity.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการศึกษาคุณลักษณะของซัลโฟเนตพอลิอีเทอร์อีเทอร์คีโตนภายหลังการทำความสะอาดพื้นผิวด้วยวิธีต่างๆen_US
dc.title.alternativeThe Study of Sulfonated Polyetheretherketone Characteristic After various surface cleaning techniquesen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashทันตแพทยศาสตร์-
thailis.controlvocab.thashกรดกำมะถัน-
thailis.controlvocab.thashสารยึดติดทางทันตกรรม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวัตถุประสงค์: การศึกษานี้จึงมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณกรดซัลฟูริคหลงเหลือในพีอีอีเด และความชอบน้ำของซัลโฟเนตพี่อีอีเคภายหลังการทำความสะอาดด้วยวิธีต่างๆ วัสดุและวิธีการ: นำชิ้นงานพี่อีอีเค 1 กลุ่ม และ พีอีอีเคที่ผ่านการใช้กรดกัด 5 กลุ่ม มาผ่านการ ทำความสะอาดด้วย 5 วิธีได้แก่ การแช่ในน้ำปราศจาคไอออน การสั่นในน้ำปราศจากไอออน การแช่ใน อะซิโตนบริสุทธิ์ การแช่ในสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) ร้อยละ 6 โดยน้ำหนัก และ การแช่ ในสารละลายโคคาไมโดโพรพิวบีเทน ร้อยละ 10 (CAPB) ทำการตรวจสอบปริมาณกรดซัลฟูริคหลง เหลือด้วยเครื่องวัดการดูดกลืนแสง วัดมุมสัมผัสด้วยเครื่องโกนิโอมิเตอร์เพื่อตรวจสอบความชอบน้ำ และทำการวิเคราะห์กลุ่มฟังก์ชั่นทางเคมีของชิ้นงานด้วยวิธีเอทีอาร์เอฟทีไออาร์ นำข้อมูลมาวิเกราะห์ ทางสถิติเปรียบเทียบปริมาณกรดซัลริคหลงเหลือ และ มุมสัมผัส โดยใช้การวิเคราะห์ความ แปรปรวนทางเดียว และการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มของตุกี (p < 0.05) ผลการศึกษา: กลุ่มทดสอบที่แช่อะซิโตนบริสุทธิ์มีปริมาณกรดซัลฟูริคหลงเหลืออยู่น้อยที่สุด (P < 0.001) และผลของเอทีอาร์เอฟทีไออาร์พบหมู่ฟังก์ชันซัลโฟเนตบนผิวขึ้นงานภายหลังการล้าง ด้วยวิธีต่างๆ ในขณะที่ กลุ่มที่มีความชอบน้ำมากที่สุดคือกลุ่มที่ สั่นในน้ำปราศจาคไอออน แต่ไม่แตก ต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับซัลโฟเนตพีอีอีเคกลุ่มอื่นๆ (p> 0.05) สรุปผลการศึกษา: การแช่ในอะซิโตนบริสุทธิ์เป็นวิธีที่มีป ระสิทธิภาพมากที่สุดในการกำจัดกรด ซัลฟูริคหลงเหลือ และการทำความสะอาดด้วpวิธีต่างๆภายใต้การทดลองนี้จะมีความชอบน้ำไม่แตก ต่างกันen_US
Appears in Collections:DENT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620931043 ปรินทร์ เจียระนันท์.pdf29.4 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.