Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78706
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วริษา วิสิทธิพานิช | - |
dc.contributor.author | นภัสวรรณ เด็ดขาด | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-08-25T01:04:24Z | - |
dc.date.available | 2023-08-25T01:04:24Z | - |
dc.date.issued | 2023-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78706 | - |
dc.description.abstract | The thesis presents Drug Distribution System Development between The Hospital and Local Drug Stores. This thesis aims to select local drug store representatives as medicine distributors and analyze the hospital cost. This thesis can be divided into 3 parts as follows: First, a mathematical model developed to minimize the number of local drug store representatives considering the distance that patients can receive services thoroughly and reduce the cost of transporting medicines to hospitals. It was calculated that results by LINGO 14.0 programming. Second, analyzing the minimum possible cost of this project including the hospital, local drug stores, and patients cost. And third comparison of costs between 24 rounds of drug delivery per year and 12 rounds of drug delivery per year. Furthermore, there is a comparison of local pharmacist labor costs between contracted labor and wages calculated from the proportion of actual work. As a result of the study, local drug store representatives were selected from drug stores that could provide services within a radius that covered all patients in each area. The recommended radius is the one for the minimum travel cost of patients. In addition, research suggests that reducing drug delivery cycles to 12 rounds per year can reduce system costs by 16%, without the reduction of drug delivery cycles not affecting the drug delivery cycles of patients. The final part is a comparison of wages for pharmacists at local pharmacies. It was found that contract wages were similar to wages that were proportionate to actual work during the 15 22.5-minuteute period. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การเลือกทำเลที่ตั้งของคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า | en_US |
dc.subject | การหาค่าที่เหมาะสมที่สุด | en_US |
dc.subject | การพัฒนาแบบจำลองทางคณิตศาตร์ | en_US |
dc.subject | ระบบจัดส่งยา | en_US |
dc.subject | ค่าใช้จ่าย | en_US |
dc.title | การพัฒนาระบบจัดส่งยาระหว่างโรงพยาบาลและร้านยาท้องถิ่น | en_US |
dc.title.alternative | Drug distribution system development between the hospital and local drug stores | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ยา -- การเก็บในคลัง | - |
thailis.controlvocab.thash | การควบคุมสินค้าคงคลัง | - |
thailis.controlvocab.thash | การพัฒนาแบบจำลองทางคณิตศาตร์ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้นำเสนอการพัฒนาระบบการจัดส่งยาระหว่างโรงพยาบาล และร้านยาท้องถิ่น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเลือกตัวแทนร้านยาท้องถิ่นและวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายของโรงพยาบาล งานวิจัยแบ่งเป็น 3 ส่วน ได้แก่ 1. การพัฒนาแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ ในการเลือกตัวแทนร้านยาท้องถิ่นในจำนวนน้อยที่สุด โดยคำนึงถึงระยะทางที่ผู้ป่วยสามารถเข้ารับบริการอย่างทั่วถึง และลดค่าใช้จ่ายในการขนส่งยาของโรงพยาบาล โดยคำนวณผลผ่านโปรแกรม LINGO 14.0 2. การวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายน้อยที่สุดที่เป็นไปได้ในโครงการนี้ โดยแบ่งค่าใช้จ่ายออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ โรงพยาบาล ร้านยาท้องถิ่น และผู้ป่วย และ 3. การเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายระหว่างรอบจัดส่งยาแบบ 24 รอบต่อปี และรอบการจัดส่งยาแบบ 12 รอบต่อปี และเปรียบเทียบค่าแรงเภสัชกรร้านยาท้องถิ่นระหว่างค่าแรงเหมา และค่าแรงที่คิดจากสัดส่วนการทำงานจริง ผลจากวิทยานิพนธ์พบว่าตัวแทนร้านยาท้องถิ่นถูกเลือกจากร้านยาที่สามารถให้บริการในรัศมีที่ครอบคลุมผู้ป่วยทั้งหมดในบริเวณที่กำหนด ซึ่งรัศมีที่ถูกแนะนำคือรัศมีที่มีค่าใช้จ่ายในการเดินทางของผู้ป่วยน้อยที่สุด นอกจากนี้ในวิทยานิพนธ์ชี้ให้เห็นว่าการลดรอบจัดส่งเป็น 12 รอบต่อปี สามารถลดค่าใช้จ่ายของระบบได้ถึง 16% โดยที่การลดลงของรอบจัดส่งยาไม่ส่งผลกระทบต่อรอบการรับยาของผู้ป่วย และจากการเปรียบเทียบค่าแรงเภสัชกรร้านยาท้องถิ่น พบว่า ค่าแรงแบบเหมามีความใกล้เคียงกันกับค่าแรงที่คิดตามสัดส่วนการทำงานจริงในช่วงระยะเวลา 15–22.5 นาที | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610631114-นภัสวรรณ เด็ดขาด.pdf | 13.74 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.