Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78700
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรรณภา นบนอบ | - |
dc.contributor.advisor | อิ่มใจ ชิตาพนารักษ์ | - |
dc.contributor.author | ศิวิกา ทองถนอม | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-08-24T01:28:49Z | - |
dc.date.available | 2023-08-24T01:28:49Z | - |
dc.date.issued | 2023-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78700 | - |
dc.description.abstract | Introduction: Breast cancer is the most common cancer in females. Radiation therapy is a very important role in breast cancer treatment. The development of radiotherapy technology is to improve treatment efficiency and reduce the risk of complications. Therefore, this study aims to determine the suitable breast treatment technique for Metropolitan Tha Chalom Hospital which limited resources for both staff and equipment. The advantage and limitations of each technique should be taken into account to guide doctors choose the most appropriate treatment for breast cancer patients. Method: This study is retrospective study. The Computed Tomography images of Fifteen patients who received left-sided postmastectomy radiation therapy (PMRT) were enrolled in this study. The patients characteristic were divided into two groups; 1. chest wall (CW) only irradiation and 2. Chest wall plus supraclavicular lymph nodes (SPC). All fifteen PMRT patients were generated in four treatment techniques including 3DCRT, Field in Field (FIF) , IMRT and Hybrid plans. The dosimetric and treatment time of each treatment technique were compared. Result: All four treatment plans were reached the acceptable criteria. The IMRT plans achieved the highest plan quality scores for two groups of breast patients. However, the irradiation requires longest time. Conclusion: The IMRT plan demonstrated the highest plan quality but required longest treatment time. The treatment times is essential in small facilities which limited equipment. Therefore, FiF plan to be the suitable technique for CW only irradiation and CW plus SPC irradiation with the high plan quality scores for OAR dose sparing and provided short treatment time. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การเปรียบเทียบเชิงรังสีคณิตระหว่างแผนรังสีรักษาสามมิติแผนรังสีรักษาปรับความเข้มและแผนรังสีรักษารังสีปรับความเข้มแบบผสมสำหรับผู้ป่วย มะเร็งเต้านมข้างซ้าย | en_US |
dc.title.alternative | Dosimetric comparison of three-dimensional (3D), intensity-modulated radiotherapy (IMRT) and hybrid IMRT for left-sided breast cancer | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | เต้านม -- มะเร็ง | - |
thailis.controlvocab.thash | รังสีรักษา | - |
thailis.controlvocab.thash | มะเร็ง -- การรักษาด้วยรังสี | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | มะเร็งเต้านมเป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดอันดับหนึ่งในเพศหญิง รังสีรักษามีบทบาทอย่างยิ่งในการรักษามะเร็งเต้านม เพื่อให้ได้ประสิทธิภาพการรักษาสูง ลดโอกาสเกิดผลแทรกซ้อนของผู้ป่วยภายหลังการรักษา จึงเป็นแนวคิดในการศึกษาหาเทคนิครังสีรักษาที่มีความเหมาะสมสำหรับโรงพยาบาลนครท่าฉลอมที่มีเครื่องมือและบุคลากรจำกัด โดยการเปรียบเทียบแผนรังสีรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมเทคนิคต่าง ๆ เพื่อพิจารณาผลเชิงรังสีคณิต ข้อดี และข้อจำกัด ของแผนการรักษาแต่ละเทคนิคเพื่อเป็นแนวทางให้แพทย์ในการเลือกแผนการรักษาที่เหมาะสมที่สุดกับผู้ป่วยมะเร็งเต้านม วิธีการวิจัย: งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองแบบย้อนหลัง ใช้ชุดข้อมูลภาพรังสีตัดขวางของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมข้างซ้ายที่มีการตัดเต้านมออกที่ได้รับการฉายรังสีจำนวน 15 รายในผู้ป่วย 2 กลุ่ม คือผู้ป่วยที่ได้รับการฉายรังสีเฉพาะบริเวณผนังทรวงอก และผู้ป่วยที่ได้รับการฉายรังสีบริเวณผนังทรวงอกและต่อมน้ำเหลืองเหนือไหปลาร้า วางแผนรังสีรักษาจำนวน 4 แผน ได้แก่ แผนรังสีรักษารังสีสามมิติ (3DCRT with Wedge) แผนรังสีรักษารังสีสามมิติซ้อนพื้นที่ (FiF) แผนรังสีรักษารังสีแปรความเข้มแบบวางแผนย้อนหลัง (IMRT) และ แผนรังสีรักษาแบบผสม (Hybrid) เพื่อเปรียบเทียบแผนรังสีรักษาโดยใช้ตัวแปรเชิงรังสีคณิต และระยะเวลาในการฉายรังสี ผลการวิจัย: ทุกแผนรังสีรักษาให้ปริมาณรังสีของปริมาตรเป้าหมายอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ ซึ่งให้ผลการวิจัยไปในแนวทางเดียวกันสำหรับผู้ป่วยทั้งสองกลุ่ม โดยแผนรังสีรักษา IMRT มีคะแนนคุณภาพแผนรังสีรักษามากที่สุดเมื่อเทียบกับทุกแผนรังสีรักษา แต่ใช้เวลาในการฉายรังสีนานที่สุด สรุปผลการวิจัย: แผนรังสีรักษา IMRT ให้ผลของตัวแปรเชิงรังสีคณิตดีที่สุด แต่ใช้เวลาในการฉายรังสีนานที่สุด ซึ่งปัจจัยด้านเวลาในการฉายรังสีเป็นสิ่งที่สำคัญในโรงพยาบาลขนาดเล็กที่มีเครื่องมืออยู่อย่างจำกัดแต่ต้องรองรับผู้ป่วยจำนวนมาก แผนรังสีรักษา FiF จึงเป็นทางเลือกสำหรับผู้ป่วยทั้งสองกลุ่ม เนื่องจากสามารถลดปริมาณรังสีในอวัยวะปกติข้างเคียงได้มาก โดยมีคะแนนคุณภาพแผนรังสีรักษารองจากแผนรังสีรักษา IMRT แต่ใช้เวลาในการฉายรังสีน้อยกว่าอย่างมีนัยสำคัญ | en_US |
Appears in Collections: | MED: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610731031-ศิวิกา ทองถนอม.pdf | 6.18 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.