Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78692
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Woraphon Yamaka | - |
dc.contributor.advisor | Paravee Maneejuk | - |
dc.contributor.author | Guntee Lungkapin | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-08-23T11:33:31Z | - |
dc.date.available | 2023-08-23T11:33:31Z | - |
dc.date.issued | 2022-01 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78692 | - |
dc.description.abstract | Chiang Mai has been being considered as one of most popular travel destination in Thailand with its economy heavily tied to tourism for ages. Considering an international arrival, Chinese tourist is no doubt the largest inbound proportion traveled in Chiang Mai with its maturing in outbound tourism market and an increasingly number of visits in Chiang Mai over time. Due to the precedence of revisiting in the issues of the cost-effectiveness of boosting a number of tourists and the path of sustainable tourism as it generates loyal tourists to a destination. Aiming to foster the potential of Chiang Mai tourism by increasing a number of revisitor, this study investigates the factors that influence the Chinese tourists' revisit intention and the length of returning time toward Chiang Mai. Self-administrative survey data were analyzed through Survival Analysis, using the Cox Proportional Hazards model which allows us to investigate the factors that statically affect the length of tourists' returning time. Lastly, the results were estimated through the Lasso estimation to estimate the coefficients and perform variable selection simultaneously. The results show that gender and income do not significantly affect the duration of returning. The 21-30 years old Chinese tourists take the majority of the random sample. The younger tourists tend to revisit the place sooner than the elder. Interestingly, most of the respondents was travel alone yet have never been in Chiang Mai before. Remarkably, the tourists who had more experience in Chiang Mai before tend to return very sooner. Furthermore, a business owner and a freelancer are the group of occupation which has potential to revisit Chiang Mai sooner than others. Moreover, the study found that the shorter of distance from their starts to Chiang Mai leads the shorter of time they were willing to return the place. Furthermore, the destination satisfaction factors that significantly accelerate the revisit incidences in Chiang Mai are activities and events. Nevertheless, air quality, convenience and the price of transportation, safety and security during traveling are vulnerable factors to the decision of tourists' revisiting which the expected returning date would be retard on condition that one of these factors could not satisfied the tourist's satisfaction. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | An Analysis of factors influencing revisit intention of Chinese tourists towards Chiang Mai: evidence from cox proportional hazard model | en_US |
dc.title.alternative | การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจในการกลับมาเที่ยวซ้ำ ของนักท่องเที่ยวชาวจีนในจังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Tourists | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Tourists -- Behavior | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Travel -- Economic aspects -- Chiang Mai: | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | จังหวัดเชียงใหม่นับเป็นหนึ่งในจังหวัดท่องเที่ยวยอดนิยมของประเทศไทย ซึ่งการท่องเที่ยว ถือเป็นตัวแปรสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของเชียงใหม่มาอย่างยาวนาน และเมื่อพิจารณา สัดส่วนของนักท่องเที่ยวที่เข้ามาเขื่อนเชียงใหม่ในแต่ละปีแล้วพบว่าจำนวนนักท่องเที่ยวชาวจีนใน เชียงใหม่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และเนื่องด้วยการได้เปรียบของกลยุทธ์ทางการตลาดที่มุ่งเน้นการ กระตุ้นการกลับมาเที่ยวซ้ำของนักท่องเที่ยวที่เคยมาเยือนแล้วส่งผลให้เกิดความคุ้มค่าในระยะยาว มากกว่าการพยายามเพิ่มจำนวนนักท่องเที่ยวรายใหม่ การศึกษานี้มีวัดถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ ส่งผลต่อระยะเวลาในการกลับมาเที่ยวซ้ำของนักท่องเที่ยวชาวจีนในจังหวัดเชียงใหม่ การศึกษานี้ใช้ ข้อมูลจากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลตัวอย่างโดยใช้แบบสอบถามและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ได้ซึ่ง หลักฐานการอ้างอิงจากการวิเคราะห์ระยะปลอดเหตุการณ์ (Survival Analysis) โดยใช้เครื่องมือการ วิเคราะห์ข้อมูลที่เรียกว่า "Cox Proportional Hazard Mode!" เพื่อตรวจหาปัจจัยที่ส่งผลต่อระยะเวลา ในการกลับมาเที่ยวซ้ำในจังหวัดเชียงใหม่ของกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวจีน และประมาณค่าสัมประสิทธิ์ ของผลการศึกบาโดยใช้วิธีการประมานค่าที่เรียกว่า "Lasso estimator" จากการศึกษา พบว่า เพศ และรายได้ ไม่ส่งผลอย่างมีนัยสำคัญต่อการกลับมาเที่ยวซ้ำของกลุ่ม สำรวจ นักท่องเที่ยวโดยส่วนใหญ่จากการสำรวจมีอายุ 21 ถึง 30 ปี โดยเป็นช่วงวัยที่มีการคาดว่จะ กลับมาเหี่ยวซ้ำมากที่สุด เป็นที่น่าสนใจว่านักท่องเที่ยวที่มีพฤติกรรมการท่องเที่ยวด้วยตัวเอง และ ส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวที่ยังไม่เคยมาเที่ยวในเชียงใหม่ พบว่านักท่องเที่ยวที่เคยมาเกี่ยวในเชียงใหม่ มีแนวโน้มที่สูงกว่าในการกลับมาเที่ยวซ้ำอีกครั้ง อีกทั้งนักท่องเที่ยวที่ประกอบอาชีพส่วนตัวหรือเป็นเจ้าของกิจการมีแนวโน้มในการกลับมาเที่ยวในเชียงใหม่อีกครั้งในระยะเวลาที่สั้นกว่ากลุ่ม อาชีพอื่น ในขณะที่ระยะทางของการเดินทางมายังเชียงใหม่ของนักท่องเที่ยวมีผลต่อการกลับมาเที่ยว ซ้ำโดยเชียงใหม่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวชาวจีนที่มีถิ่นฐานใกล้เคียงได้ดีกว่า นอกจากนั้น กิจกรรม และสันทนาการเป็นจุดเด่นที่ดึงดูดให้นักท่องเที่ยวให้กลับมาเที่ยวซ้ำได้มากที่สุด ในทางกลับกัน คุณภาพอากาศ ความปลอดภัย และความสะดวกสบายในการเดินทางสัญจร ระหว่างการท่องเที่ยวเป็น ปัจจัยที่นักท่องเที่ยวชาวจีนให้ความสำคัญและส่งผลต่อการตัดสินใจในการกลับมาท่องเที่ยวอีกครั้ง มากที่สุด | en_US |
Appears in Collections: | ECON: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
611635910 กันต์ธีร์ ลังกาพินธุ์.pdf | 1.99 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.