Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78682
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Nongluck Kienngam | - |
dc.contributor.advisor | Somkiat Intasingh | - |
dc.contributor.advisor | Sunee Nguenyuang | - |
dc.contributor.author | Raviwan Thongsrikaew | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-08-22T01:12:30Z | - |
dc.date.available | 2023-08-22T01:12:30Z | - |
dc.date.issued | 2023-05-16 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78682 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research were 1) to develop a model of thinking teaching competency development based on school as a learning community for private school teachers and, 2) to study the implementation results of the model of thinking teaching competency development based on school as a learning community for private school teachers. The research and development were divided into four phases as follows: phase 1 was to investigate the needs assessment for developing a model of thinking teaching competency development based on school as a learning community for private school teachers in Chiang Mai Province (R1), key informants consisted of 251 teachers teaching at an upper secondary level in seven private schools, an instrument was was a needs assessment questionnaire, data were analyzed by frequency, percentage, mean, and standard deviation; phase 2 was to construct and develop a model of thinking teaching competency development based on the school as a learning community (D1), key informants were five experts, the instrument used was a five-rating scales evaluation form of accuracy and suitability, data were analyzed by mean and standard deviation; phase 3 was to implement a model of thinking teaching competency development based on the school as a learning community (R2), key informants consisted of was six teachers teaching at an upper secondary level, the instruments used were an evaluation form for thinking teaching competency, a cooperative lesson development, and a satisfaction assessment form, quantitative data were analyzed by using mean, standard deviation, and percentage, qualitative data were analyzed using content analysis; phase 4 was to evaluate the effectiveness of the model of thinking teaching competency development based on the school as a learning community (D2), the sample group was 104 upper secondary school students, the instrument was a thinking competency evaluation form for students, data were analyzed by mean and standard deviation. The research results were summarized as follows: 1. The results of the investigation of the needs assessment for developing a model of thinking teaching competency development based on school as a learning community for private school teachers in Chiang Mai Province. The highest index of the priority needs for thinking teaching competency development for students to be able to use their knowledge of mathematics for data processing 2. The results of constructing a model of thinking teaching competency development based on the school as a learning community for private school teachers that was created by the researcher consisting of four components: 1) model principles, 2) a model objective 3) model operations, and 4) model evaluations. The model operations of thinking teaching competency development based on the school as a learning community were divided into five main steps: Step 1: Understanding, Step 2: Instruction, Step 3: Action, Step 4: Sharing, and Step 5: Valuing. Experts evaluated the model principles of thinking teaching competency development based on the school as a learning community in terms of accuracy were overall at a high level (X ̅ = 4.30, S.D. = 0.66) in all aspects and in terms of suitability, it was overall at a high level (X ̅ = 4.30, S.D. = 0.57).in all aspects. 3. Results of the implementation a model of thinking teaching competency development based on the school as a learning community, it was found that 3.1) after implementing the model of teaching thinking competency in terms of knowledge, thinking teaching skills, and ability to work collaboratively and empoweringly were excellent (X ̅ = 4.59, S.D. = 0.47); 3.2) there was a learning design that encouraged thinking competency by organizing problematic situations around teachers; 3.3) the satisfaction results of teachers and those relevant personnel in implementing a model of thinking teaching competency development was overall at the highest level. 4. The evaluation results of the students’ thinking competency evaluation developed by the researcher after learning higher than before were overall at a good level in both problem-solving thinking and analytical thinking. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Model of thinking teaching competency development based on school as a learning community for private school teachers | en_US |
dc.title.alternative | รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการสอนคิดตามแนวคิดโรงเรียน ในฐานะชุมชนแห่งการเรียนรู้สำหรับครูโรงเรียนเอกชน | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Teaching | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Thinking skill | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Private schools | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Teacher -- Performance | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการสอนคิดตามแนวคิดโรงเรียนในฐานะชุมชนแห่งการเรียนรู้สำหรับครูโรงเรียนเอกชนและ 2) เพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการสอนคิดตามแนวคิดโรงเรียนในฐานะชุมชนแห่งการเรียนรู้สำหรับครูโรงเรียนเอกชน การวิจัยและพัฒนา แบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1: เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นเพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการสอนคิดตามแนวคิดโรงเรียนในฐานะชุมชนแห่งการเรียนรู้สำหรับครูโรงเรียนเอกชนในจังหวัดเชียงใหม่ (R1) ผู้ให้ข้อมูลสำคัญประกอบด้วยครูผู้สอนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 251 คน ใน 7 โรงเรียนเอกชน เครื่องมือ คือ แบบสอบถามประเมินความต้องการจำเป็น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 2: เพื่อสร้างและพัฒนารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการสอนคิดตามแนวคิดโรงเรียนในฐานะชุมชนแห่งการเรียนรู้สำหรับครูโรงเรียนเอกชน (D1) ผู้ให้ข้อมูลหลักคือผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน เครื่องมือที่ใช้ เป็นแบบประเมินความถูกต้องและเหมาะสม แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ส่วน วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 3: เพื่อทดลองรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการสอนคิดตามแนวคิดโรงเรียนในฐานะชุมชนแห่งการเรียนรู้ (R2) ผู้ให้ ข้อมูลสำคัญประกอบด้วย ครู 6 คนที่สอนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบประเมินสมรรถนะการสอนคิด การพัฒนาบทเรียนแบบร่วมมือร่วมพลัง และแบบประเมินความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และร้อยละ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ขั้นตอนที่ 4: เพื่อประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการสอนคิดตามแนวคิดโรงเรียนในฐานะชุมชนแห่งการเรียนรู้ (D2) กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 104 คน เครื่องมือเป็นแบบประเมินสมรรถนะการคิดสำหรับนักเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดย ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการศึกษาความต้องการจำเป็นเพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการสอนคิดตามแนวคิดโรงเรียนในฐานะชุมชนแห่งการเรียนรู้สำหรับครูโรงเรียนเอกชนในจังหวัดเชียงใหม่ ค่าดัชนีสูงสุดของความต้องการลำดับความสำคัญในการพัฒนาสมรรถนะการสอนการคิด คือ การให้นักเรียนสามารถใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์ในการประมวลผลข้อมูลได้ 2.ผลการสร้างและพัฒนารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการสอนคิด ตามแนวคิดโรงเรียนในฐานะชุมชนแห่งการเรียนรู้สำหรับครูโรงเรียนเอกชน พบว่า รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการสอนคิด มีองค์ประกอบดังนี้ 1) หลักการของรูปแบบ 2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 3) ขั้นตอนการดำเนินการรูปแบบ และ 5) การวัดและประเมินผลรูปแบบ มีแนวทางและขั้นตอนการพัฒนาสมรรถนะการสอนคิดตามแนวคิดโรงเรียนในฐานะชุมชนแห่งการเรียนรู้ มีทั้งหมด 5 ขั้นตอนหลัก ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 สร้างความเข้าใจ ขั้นตอนที่ 2 เติมเต็มสมรรถนะ ขั้นที่ 3 สู่การลงมือ ขั้นที่ 4 การแบ่งปัน และขั้นที่ 5 สร้างสรรค์คุณค่า ผลการประเมินรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการสอนคิดมีความถูกต้องโดยรวมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 4.30 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.66) ทุกด้าน และความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 4.30 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.57) ทุกด้าน 3. ผลการทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการสอนคิด พบว่า 3.1) สมรรถนะการสอนคิดของครูตามแนวคิดโรงเรียนในฐานะชุมชนแห่งการเรียนรู้ในด้านความรู้ความเข้าใจ ด้านทักษะการสอนคิด และความสามารถในการทำงานแบบร่วมมือรวมพลังหลังจากใช้รูปแบบอยู่ในระดับดีเยี่ยม 3.2) มีการออกแบบการเรียนรู้ที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดโดยการจัดสถานการณ์ปัญหารอบตัวครู 3.3) ครูและฝ่ายวิชาการมีความพึงพอใจในแต่ละด้านของรูปแบบอยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.59 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.47) 4. ผลการประเมินนักเรียน พบว่า นักเรียนมีสมรรถนะการหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และระดับสมรรถนะการคิดโดยรวมสูงกว่าก่อนเรียน ระดับสมรรถนะการคิดแก้ปัญหาและการคิดวิเคราะห์หลังเรียนอยู่ในระดับดีมาก | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610252007 รวิวรรณ ทองศรีแก้ว.pdf | 17.14 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.