Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78672
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มานพ แก้วโมราเจริญ | - |
dc.contributor.author | พงษ์อำมาตย์ แขนงแก้ว | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-08-21T01:09:56Z | - |
dc.date.available | 2023-08-21T01:09:56Z | - |
dc.date.issued | 2022-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78672 | - |
dc.description.abstract | Construction projects are known as a major source of particulate matter occurrence, which affects construction labors and people in the surrounding area. The objectives of this study are (i) to analyze the particulate matter occurrence from construction activities and (ii) to analyze correlation analysis between factors related to the particulate matter concentrations and particulate matter concentrations. The results show that construction activities which are sources of particulate matter consist of brick wall activity and grinding the cement ceiling activity. The average of particulate matter concentrations ranges from 52 to 201.34 µg/m3. In part of the correlation analysis found that the number of construction works in brick wall activity provides a direct relationship to the particulate matter concentrations, and the quantity of works in grinding the cement ceiling activity provides a direct relationship to the particulate matter concentrations, respectively | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ปัจจัยและความสัมพันธ์ของต้นกำเนิดฝุ่นจิ๋วจากกิจกรรมงานก่อสร้าง | en_US |
dc.title.alternative | Factors and relationships of particulate sources from construction activities | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ฝุ่น | - |
thailis.controlvocab.thash | การก่อสร้าง | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | โครงการก่อสร้างจัดเป็นหนึ่งในสาเหตุที่ทำให้เกิดฝุ่นละอองเป็นจำนวนมากโดยรอบพื้นที่ก่อสร้าง ส่งผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อคนงานก่อสร้างที่ปฏิบัติงานในพื้นที่โครงการก่อสร้าง การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ปริมาณฝุ่นละอองที่มีแหล่งกำเนิดจากกิจกรรมในการก่อสร้างงานอาคารและศึกษาและวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์ (Correlation Analysis) ระหว่างปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดความเข้มข้นของฝุ่นละอองและปริมาณความเข้มข้นของฝุ่นละออง จากการศึกษาพบว่าตัวอย่างของกิจกรรมก่อสร้างที่เป็นแหล่งกำเนิดฝุ่นละออง ได้แก่ กิจกรรมก่อผนัง และกิจกรรมขัดท้องพื้นเพดาน จากการศึกษาพบว่าความเข้มข้นของฝุ่นละอองที่เกิดขึ้นในกิจกรรมก่อสร้างมีค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 52 ถึง 201.34 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และจากการศึกษาและวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์ (Correlation Analysis) ระหว่างปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดความเข้มข้นของฝุ่น พบว่าค่าสหสัมพันธ์ (R) ของกิจกรรมก่อผนัง มีค่าสหสัมพันธ์ (R) ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดฝุ่นละอองในงานก่อสร้างกับค่ความเข้มข้นของฝุ่นละอองที่มีทิศทางแปรผันตามมากที่สุด คือ จำนวนคนงาน และค่าสหสัมพันธ์ (R) ของกิจกรรมขัดท้องพื้นเพดาน มีค่าสหสัมพันธ์ (R) ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดฝุ่นละอองในงานก่อสร้างกับค่าความเข้มข้นของฝุ่นละอองที่มีทิศทางแปรผันตามมากที่สุด คือ ปริมาณงาน | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610631001 พงษ์อำมาตย์ แขนงแก้ว.pdf | 2.89 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.