Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78664
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุลักษณ์ สุมิตสวรรค์-
dc.contributor.authorเรียวฟาง สวนเอกen_US
dc.date.accessioned2023-08-19T09:01:10Z-
dc.date.available2023-08-19T09:01:10Z-
dc.date.issued2023-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78664-
dc.description.abstractHerbicides are widely used because of their convenience and need less labor. However, inappropriate use of herbicides could adversely affect human health, animals, plants, and the nearby ecosystem. In addition, these chemicals could remain in the environment and contaminate soil, water, and ecosystems. This study examined the effects of herbicides, including diuron, atrazine, and ametryn on herbicide residues in soil, water, and soil properties when the soils were treated with herbicides at 1, 5, and 10 times the recommended application rates. Experiments were conducted in PVC soil columns. Herbicide residues were extracted and determined by the QuEChERS method, and analyzed by LC-MS/MS. According to the results, during the 72 hours after the soil was treated with the herbicides, diuron remained in the soil between 91.9 and 99.7% and leached to the bottom of the column between 0.2 and 8.0%. Atrazine remained in the soil for 82.2 to 99.7%, and leaching to the bottom of the column was 0.2 to 17.7%. Analyses of diuron and atrazine residuals in the soil at the half-life of the compounds found a tendency for both herbicides' residual proportions to increase with increasing herbicide amounts. In addition, the research examined the soil properties after diuron, atrazine, and ametryn applications at varied concentrations. It was found that soil properties changed with increasing herbicide concentration, including organic matter, cation exchange capacity, and total nitrogen.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของชนิดและความเข้มข้นของสารเคมีกำจัดวัชพืชต่อการตกค้างในดินและลักษณะสมบัติของดินทางการเกษตรen_US
dc.title.alternativeEffects of types and concentrations of herbicides on soil residues and agricultural soil propertiesen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashสารฆ่าศัตรูพืชและสัตว์-
thailis.controlvocab.thashสารฆ่าวัชพืช-
thailis.controlvocab.thashไดยูรอน-
thailis.controlvocab.thashอะทราซีน-
thailis.controlvocab.thashอะมีทรีน-
thailis.controlvocab.thashการกำจัดสารปนเปื้อนในดิน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractสารเคมีกำจัดวัชพืชได้ถูกใช้อย่างแพร่หลายเนื่องจากมีความสะดวกและใช้แรงงานน้อย แต่หากใช้สารเคมีกำจัดวัชพืชอย่างไม่เหมาะสมอาจส่งผลเสียต่อมนุษย์ สัตว์ พืช รวมถึงการตกค้างในสิ่งแวดล้อมที่อาจจะส่งผลต่อคุณภาพดิน น้ำ และระบบนิเวศ งานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาหาผลกระทบของสารเคมีกำจัดวัชพืช ได้แก่ ไดยูรอน (Diuron) อะทราซีน (Atrazine) และอะมีทรีน (Ametryn) ต่อการตกค้างของสารเคมีกำจัดวัชพืชทั้งในดิน น้ำ และลักษณะสมบัติของดิน เมื่อดินได้รับสารเคมีกำจัดวัชพืชในปริมาณ 1 5 และ 10 เท่าของอัตราการใช้งานที่แนะนำบนฉลากผลิตภัณฑ์ โดยทำการทดลองในคอลัมน์ และวิเคราะห์ปริมาณสารเคมีกำจัดวัชพืชตกค้างด้วยวิธี QuEChERS และเครื่อง LC-MS/MS พบว่าในช่วงเวลา 72 ชั่วโมงหลังจากดินได้รับสารเคมีนั้น ไดยูรอนคงเหลือในดิน เท่ากับ ร้อยละ 91.9 – 99.7 และชะลงสู่ด้านล่างของคอลัมน์พร้อมกับน้ำชะร้อยละ 0.2 – 8.0 และอะทราซีนคงเหลือในดิน เท่ากับ ร้อยละ 82.2 – 99.7 และชะลงสู่ด้านล่างของคอลัมน์พร้อมกับน้ำชะ ร้อยละ 0.2 – 17.7 เมื่อวิเคราะห์ปริมาณไดยูรอนและอะทราซีนคงเหลือในดินที่ระยะเวลาครึ่งชีวิตของสาร พบแนวโน้มของสัดส่วนการตกค้างของสารเคมีกำจัดวัชพืชทั้งสองเพิ่มขึ้นตามปริมาณของสารที่เพิ่มขึ้น นอกจากนี้งานวิจัยได้วิเคราะห์คุณสมบัติของดินหลังดินได้รับไดยูรอน อะทราซีน และอะมีทรีนที่ปริมาณความเข้มข้นต่างๆ พบคุณสมบัติของดินที่เปลี่ยนแปลงตามความเข้มข้นของสารเคมีกำจัดวัชพืชที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ อินทรียวัตถุ (Organic Matter) ความจุประจุบวกที่สามารถแลกเปลี่ยนได้ (Cation Exchange Capacity) และไนโตรเจนทั้งหมด (Total Nitrogen)en_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610631033 - เรียวฟาง สวนเอก.pdf2.22 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.